Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรับผิดกระทำละเมิดด้วยตนเอง - Coggle Diagram
ความรับผิดกระทำละเมิดด้วยตนเอง
1.ความหมายของการกระทำ
1.3 การงดเว้นการกระทำ คือ การงดเว้นหรือละเว้นการกระทำอันมหน้าที่ต้ิงกระทำ
เช่น หน้าที่ตามสัญญา เช่น ศัญญาจ้างรักษาโรค สํญญาจ้างดูแลต่างๆทั่วไป
1.2 มีการกระทำ = การกระทำหมายถึง การเคลื่อนไหวร่างกาย โดยรู้สำนึก และ อิริยาบท
ตัวอย่าง การเคลื่อนไหวโดยรู็อิริยาบท แต่ไม่รู้สำนึก
ละเมอตามสัญชาติญาติ หรือคนป่วยไม่มีสติเทาสุราไม่รู้ทำอะไรลงไป
1.1 ผู้ใด = คือ คน ไม่ใช้สัตว์และสิ่งของ เพราะคนสัตวสิ่งของทำระเมิดไม่ได้
3.การกระทำโดยผิดกฎหมาย
3.3 กรณีการผ่าฝืนบทบังคับแห่งกฎหมาย(มาตรา422)
เพราะ
เหตุจำเป็นกรณีที่มีการกระทำที่ทำมห้เกิดความเสียหายและการกระทำนั้นเป็นการกระทำโดยมิชอบโด้วยกฎหมายทที่จะทำให้ผู้เสียหายต้องรับภาระพิสูจน์อาจเป็นภาระแกผู้เสียหายมากเกินควรจึงได้มีการผลักภาระแก่ผู้ที่กระทำการผ่าฝืนกฎหมาย ตามมาตรา422
3.2 การกระทำโดยมิชอบด้วยกฎหมาย (ม.421)
-ความยินยอมไม่ทำให้เป็นระเมิด
-พรบข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
-มตรา8 วรรค 1องค์ประกอบ
-มาตรา8 วรรค 2องค์ประกอบ
ตัวอย่างม.8วรรค1แดงขอให้ดำยิงเพื่อทดลองคาถาอาคม=เป็นโมฆะ
ม.8วรรค2แดงตกลงกับเจ้าของหอพักหากแก้วในห้องแตกจ่าน500=นำข้อตกลงมาใช้ได้เท่ากับราคาแก้วจริง
3.1.ความหมายของการกระทำโดยผิดกฎหมาย
กระทำโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ม.421
เช่น นายแดงยืมรถนายดำนายแดงมีสิทะิตามาัยญายืม และสิทธิตามสัญญายืม เป็นการกระทำโดยไม่มีสิทธิ
การกระทำเกินกว่าสิทธิที่มีอยู่ เช่น นายแดงยืมรถนายดำโดยสัญญาว่าจะแบก50 กก แต่นายแดงแบก 70 กก (เกินกว่าข้อตกลงการใช้สิทธิ)
กฎหมายบัญญัติโดยขัดแข้งว่าเป็นความผิด
เมื่อได้กระทำการผ่าผืนกฎหมายย่อมเป็นการกระทำโดยผิดกฎหมาย
เช่นในมาตรา 295 ผู็ใดทำร้ายผู้อื่น
หมายถึง สิทธิ ที่กฎหมายกำหนดขอบเขตุไว้หรือกำหนดขอบเขตตามที่ตนมีกล่าวคือการกระทำโดยไม่มีสิทะิหรือเกินกว่าสิทธิที่มีอยู่ หมายถึงผู้กระทำไม่มีสิทธิ์ ไม่ใช่การใช้สิทธิ ตามมาตรา 421
4.การกระทำที่ก่ความเสียหายแก่บุคคลอื่น
4.2ลักษณะของสิทธิ
สิทธิหมายถึง อำนาจรือที่กฎหมายคุ้มครองรับรอง
-สิทธิจึงคุ้มครองทั้งวัตถุมีรูปร่าง ชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สินและวัตถุไม่มีรูปร่างชื่อเสียง เช่น เข้าแถวเพื่อจองซื้อสินค้นเราย่อมที่จะมีโอกาสที่จะได้ซื้อก่อนหรือเลือกสินค้าได้ก่อน เมื่อเกิดสิทธิย่อมเกิดหน้าที่ให้คนอื่นย่อมให้ทำด้วย
4.1 มีความเสียหายต่อสิทธิ
-ไม่เกิดความเสียหายแต่ละเมิดสิทธิ
ตัวอย่าง นายกใช้มือสะอาดตบหัวนาย แดง ไม่มีอะไรเปือนร่างกายนายแดง
-ความเสียหายให้พิจารณาจากปกติชนที่คิดเห็นโดยชอบนสังคมเป็นมาตาฐาน
ตัวอย่าง นายแดงจับแขนนางสาวโท ป.อาญาถือว่าเป็นอนาจาร
4.3 เสียหายที่คำนวณเป็นเงินได้และไม่อาจเป็นคำนวณเป็นเงินได้
ตัวอย่าง ถูกทำร้ายร่าบกายค่ารักษาพยาบาล(คิดเป็นเงินได้)ค่่ารอยแผลเป็น(ไม่สามารถคำนวนเป็นเงินได้)
ตัวอย่าง นายแดงด่าหมิ่นประมาทนายดำค่าเสียหายไม่อาจคิดเป็นเงินได้
-แม้เป็นการระเมิดแล้วอาจเกิดความเสียหายหรือไม่ก็ได้และเมื่อเกิดความเสียหายอาจคำนวนเป็นราคาหรือไม่อาจคำนวนเป็นเงินได้เช่นถูกกักขังเสียหายต่อเสรีภาพ ชกต่อยกันแต่ไม่ต้องรักษาพยาบาลขวางอิฐใส่หลังคาบ้านแต่กระเบี้ยงไม่แตกเป็นต้น
2. กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
2.1 จงใจ คือ รู้สำนึกถึงความเสียหายที่เกิดขึ้นการกระทำของตน รู้ว่าผลความเสียหายเกิดแก่เขาเป็นจงใจแล้ว เช่นยกแก้วขึ้นดื่ม เท่ากับรู้สำนึกในการเคล่่อนไหว ถ้ายกแก้วราดหัว เท่ากับรู้สำนึกรู็ถึงผลเสียหายจากการกระทำคือ ทำให้เปียกหัวเปืยก** ตัวอย่าง เมื่อรู้สึกในผลเสียหายแล้ว (จงใจ) ไม่ต้องคืดว่าผลจะเสียหายมากน้อยเพียงไหนแค่รู่ว่าจงใจ จะเกิดความเสียหายก็พอ
2.2 ประมาทเลินเล่อ คือ ไม่ใช่จงใจ แต่ว่า ไม่ระมัดระวังตามสมควร ที่จะใช้ การกระทำโดยประมาทได้แก การกระทำความผิดมิใช้โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะนั้นจักต้องมีวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำการอาจใช้ความระมัดระวังแล้วแต่หาได้เพียงพอไม่
2.3 กระทำต่อผู้อื่น กระทำโดยเคลื่อนไหว อิริยาบท โดยรู้สำนึก รวมถึงการงดเว้นหรือละเว้นหน้าที่ที่ต้องกระทำ เช่นหน้าที่ ตามกฎหมาย สามีภริยา บิดามารดากัยบุตร หรือ หน้าที่ตาม สํญญา เท่ากับสามีภริยา บิดามารดากับบุตร
2.4 การใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะก่อความเสียหายแก่ผู้อื่น (421)
-การมีสิทธ์ และการใช้สิทธิ
-การใช้สิทธ์ อาจถือว่าเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมายได้ ปกติ สิทธิต่างๆก่อตั้งขึ้นย่อมมีความมุ่งหมายบางอย่าง โดยเฉพาะและสิทะฺนั้นสามารถ สิ้นสภาพการเป็นสิทธิได้ทันที หากใช้แตกต่างไปจากจุดมุ่งหมาย
ตัวอย่าง ม.421 การใช้สิทธ์ซึ่งมีแต่จะทำให้เกิดความเสียหายแกบุคลอื่นนั้นถือว่าเป็นการกระทำโดยมิชอบด้วยกฎหมาย