Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนวันที่ 4 สิงหาคมคม 2565, นางสาวอนัญญา เพทวงค์ เลขที่ 85…
สรุปการเรียนวันที่ 4 สิงหาคมคม 2565
โรคฝีดาษวานร
เชื้อสาเหตุ monkeypox virus, ในกลุ่มของ Orthopoxvirus genus, family Poxviridae
Monkeypox ปกติจะหายได้เอง (self-limited disease)
ระยะเวลาอาการประมาณ 2-4 สัปดาห์ อาการรุนแรงอาจพบในบางกลุ่มได้
แนวทางการวินิจฉัยดูแลรักษา
ณ จุดคัดกรอง ห้องฉุกเฉิน/แผนกผู้ป่วยนอก/ผู้ป่วยที่มาด้วยอาการไข้มีตุ่มน้ำหรือตุ่มหนอง
Suspected case (ผู้ป่วยสงสัย) มีอาการเกณฑ์เข้าได้กับทางคลินิกของกองระบาดวิทยาหรือ
แพทย์สงสัยว่าผู้ป่วยเป็นฝีดาษวานร
ร่วมกับมีประวัติเดินทางจากพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค หรือ
มีประวัติสัมผัสผู้ป่วยสงสัย/สารคัดหลั่งของผู้ป่วยโรคติดเชื้อ (ตามคำนิยามของกรมควบคุมโรค)
ให้รับไว้เป็นผู้ป่วยใน (อยู่ห้องแยกเดี่ยว ที่มีห้องน้ำในตัว) ระหว่างรอผลตรวจ
เก็บตัวอย่างตามคำแนะนำของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
บุคลากรทางการแพทย์ต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองที่เหมาะสม (PPE)
พิจารณาปรึกษาผู้เชี่ยวขาญเพื่อดำเนินการที่เหมาะสมต่อไป
แจ้งพยาบาล ICN เจ้าหน้าที่ระบาด เพื่อสอบสวนหาผู้สัมผัส
ผลการตรวจหาเชื้อ monkey virus
ไม่พบเชื้อ monkeypox virus (2 ห้องปฏิบัติการ)
จำหน่ายหรือให้รักษา และแยกโรคตามสาเหตุของโรค
ให้ผู้ป่วยสังเกตอาการของตนเอง 21 วัน
ถ้ามีอาการไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต มีผื่น ให้ไปพบแพทย์
ตรวจพบเชื้อ monkeypox virus
Admit ทุกรายในโรงพยาบาล
ให้ดำเนินการรักษาในห้องแยกผู้ป่วยโรคติดเชื้อ
การดูแลรักษา
Suspected case - ให้รับไว้เป็นผู้ป่วยในทุกราย ในห้องแยกเดี่ยวมีห้องน้ำในตัว (single Isolation room) จนกว่าจะทราบผลตรวจ
Confirmed case
การรักษาแบบประคับประคอง (Supportinve Treatment)
-โดยให้การรักษาตามอาการ รวมถึงการทำความสะอาด ตุ่มแผล และอื่นๆ โดยเฉพาะในกลุ่มที่มีอาการรุนแรง
-รวมทั้ง เรื่องภาวะจิตใจของผู้ป่วย
การรักษาจำเพาะ (Specific Treatment)
-ยังไม่มียาต้านไวรัส (อยู่ระหว่างการศึกาาวิจัย)
-ระยะเวลากักตัว 14-21 วัน จนสะเก็ดแผลแห้ง
ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง (เกิดโรครุนแรง)
ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มต่ำ เช่น ผู้ติดเชื้อเอชไอวี โรคมะเร็งอวัยวะต่างๆ
ผู้ที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ ได้รับการปลูกถ่ายไขกระดูกมาภายใน 2 ปี
ผู้ที่เป็นโรค autoimmune disease ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันต่ำ
เด็ก (โดยเฉพาะอายุน้อยกว่า 8 ปี)
หญิงตั้งครรภ์/ระหว่างให้นมบุตร
ผู้ที่มีประวัติเป็น atopic dermatitis หรือกำลังมีโรคผิวหนังชนิด exfoliative อยู่
คำแนะนำในการป้องกันโรคฝีดาษวานร
การสวมหน้ากากอนามัย ลดโอกาสการสัมผัสละอองน้ำลาย น้ำมูกของผู้ป่วยหรือสัตว์ติดเชื้อ
ล้างมือบ่อยๆ ด้วยน้ำสบู่
หลีกเลี่ยงการสัมผัสตุ่มหนอง หรือผู้ติดเชื้อโดยตรง
หลีกเลี่ยงการสัมผัสสารคัดหลั่งของร่างกาย
แนะนำให้รับประทานเนื้อสัตว์ปรุงสุกสะอาด
Leptospirosis โรคฉี่หนู
สาเหตุการเกิดโรค
เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน
ติดต่อโดยการสัมผัสสิ่งแวดล้อมที่ปนเปื้อนกับปัสสาวะของสัตว์ที่ป่วยหรือเป็นพาหะนำโรค เช่น หนู โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ
พบมากในประเทศเขตร้อน พบบ่อยในช่วงฤดูฝนหรือน้ำท่วม
ประชากรกลุ่มเสี่ยง คือ เกษตกร คนที่ทำงานบริเวณที่ชื้นแฉะ มีน้ำท่วมขัง
อาการของโรค
ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว
ปวดน่อง
อาการรุนแรง ได้แก่ ตัว/ตาเหลือง, ไตวายเฉียบพลัน, การหายใจล้มเหลว, เลือดออกในปอดและเสียชีวิตได้
องค์การอนามัยโลก (WHO) แบ่งอาการและอาการแสดงของโรคเลปโตสไปโรสิส เป็น
1. อาการไม่รุนแรง
คือ มีไข้ ปวดเมื่อยตามตัว ปวดศีรษะ
2. อาการรุนแรง หรือ Weil's syndrome
คือ มีไข้ ตัส/ตาเหลือง ไตวายเฉียบพลัน เลือดออกผิดปกติ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบและหัวใจเต้นผิดปกติ
3. อาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ/เนื้อสมองอักเสบ (meningitis/meningoencephalitis)
4. อาการเลือดออกในปอด (lung hemorrhage) และการหายใจล้มเหลว (respiratory failure)
ผู้ป่วยที่วินิจัยเบื้องต้นว่าเป็นเลปโตสไปโรสิสและรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
การเฝ้าระวังและรักษาอาการในระยะแรก
Monitor vital sign; BP, HR, RR และ O2 saturation ทุห 1-6 ชั่วโมง ตามความรุนแรง
เฝ้าระวังอาการไอมีเสมหะปนเลือด อาการหอบเหนื่อย การหายใจล้มเหลว และ O2 therapy ถ้า O2 therapy < 95%
ตวงปัสสาวะ ทุก 1-6 ชั่วโมง ตามความรุนแรง
ให้สารน้ำทดแทน ในรายที่มีภาวะความดันโลหิตต่ำ (ระวังภาวะไตวาย แต่ไม่ให้ปริมาณมากหรือเร็วเกินไปจนเกิดภาวะน้ำท่วมปอด)
การรักษาจำเพาะในระยะแรก
การรักษาจำเพาะ โดยให้ยาต้านจุลชีพ ต่อไปนี้
1.1 PGS 1.5 ล้านยูนิต ฉีดเข้าหลอดเลือดดำทุก 6 ชม.
1.2 ceftriaxone 1 กรัม ฉีดเข้าหลอดเลือดดำทุก 12 ชม.
1.3 cefotaxime 1 กรัม ฉีดเข้าหลอดเลือดดำทุก 6 ชม.
*พิจารณาให้ยา doxycycline ร่วมด้วย ถ้าวินิจฉัยแยกโรคจากการติดเชื้อสครัปไทฟัสไม่ได้
การรักษาตามอาการ เช่น ยาลดไข้
เมื่อผู้ป่วยอาการดีขึ้น เปลี่ยนเป้นยากินให้ครบ 7 วัน ตามแนวทางการรักษาแบบผู้ป่วยนอก
นัดมาเจาะเลือดซ้ำ ภายใน 1-4 สัปดาห์ เพื่อยืนยันการวินิจฉัย
แนวทางการคัดกรองและวินิจฉัย ผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสิส
มีไข้เฉียบพลัน น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 อาทิตย์ + ปวดศัรษะ + ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
ซักประวัติและตรวจร่างกายโดยละเอียด
ทราบสาเหตุของไข้ชัดเจน
รักษาตามสาเหตุ
ไข้เฉียบพลันที่ยังไม่ทราบสาเหตุ (Acute undifferentiated fever)
CBC, urine exam (Dengue Ag/Ab, Malaria กรณีสงสัย)
ปกติ
มีประวัติเสี่ยงต่อการสัมผัสเชื้อโรค หรือ ตรวจพบอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้
ตาแดง (conjunctival suffusion)
ตัว/ตาเหลือง (Jaundice)
Stiff neck
พบอย่างใดอย่างหนึ่งหรือร่วมกัน
Leukocytosis > 12,000/cu.mm
Thrombocytopenia < 100,000/cu.mm
Albuminuria: urine albumin >= 1+
สงสัยโรค Leptospirosis, Scrub typhus
โรคไข้หวัดใหญ่
ไวรัสไข้หวัดใหญ่
Orthomyxoviridae อยู่ Genus Influenzavirus species influenza virus เป็นเชื้อไวรัสที่มีรหัสพันธุกรรมเป็นสาร RNA
ที่ก่อโรคในมนุษย์มี type A และ B โดย type A จะมีชนิดย่อยเป้น H1N1 และ H3N2
สาเหตุ
Influenza มี 3 ชนิด คือ A,B และ C
ชนิด A เป็นชนิดที่ทำให้เกิดการระบาดอย่างกว้างขวางทั่วโลก
ชนิด B ทำให้เกิดการระบาดในพื้นที่ระดับภูมิภาค
ชนิด C มักเป็นการติดเชื้อที่แสดงอาการอย่างอ่อนหรือไม่แสดงอาการและไม่ทำให้เกิดการระบาด
ระยะฟักตัว
1-4 วัน เฉลี่ย 2 วัน
การติดต่อ
ไอ จาม หรือหายใจเอาฝอยละอองเข้าไป
ได้รับเชื้อทางอ้อมผ่านทางมือ หรือสิ่งของเครื่องใช้ที่ปนเปื้อนเชื้อ
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะ เจ็บคอ ปวดเมื่อกล้ามเนื้อ ไอแห้งๆ คัดจมูกน้ำมูกไหล *อาการต่างๆ เหล่านี้มักเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และอยู่นาน 6-10 วัน
การวินิจฉัย
การตรวจไวรัสโดยการแยกเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ได้จาก
คอหอย
สารคั่ดหลังจากจมูกหรือน้ำล้างโพรงจมูก
ซึ่งสามารถแยกเชื้อได้จาก
Culture
การตรวจแยกสาร Antigen ของไวรัสโดยตรงในเซลล์จากโพรงจมูกและของเหลว (FA หรือ ELISA) ชุดทดสอบเร็ว
การเพิ่มจำนวน RNA ของไวรัส โดยการตรวจหา Antibody titer ใน paired serum ในระยะเฉียบพลันและระยะฟื้นตัวจากโรค
การรักษา
ให้การรักษาตามอาการและพิจารณาให้ยาต้านไวรัส ยาโอเซลทามิเวียร์ (Oseltamivir) ตามการวินิจฉัยของแพทย์
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนต่อระบบทางเดินหายใจ
พบได้ทุกกลุ่มวัย โดยเฉพาะวัยทำงานและกลุ่มผู้สูงอายุ
Influenzal pneumonia
Tracheo-bronchitis
Bronchiolitis
Hypoxemia
Asthma
ภาวะแทรกซ้อนต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
พบได้ทุกกลุ่มวัย
หากผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจอยู่เดิมจะมีภาวะแทรกซ้อนทางปอดในอัตาสูง
ภาวะแทรกซ้อนที่หัวใจโดยตรง ได้แก่ Myocarditis
พบการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย เช่น เสียงหัวใจ อัตราการเต้นของหัวใจ
ในผู้สูงอายุอาจพบว่ามี ความดันโลหิตลดต่ำลงและเสียชีวิต
ภาวะแทรกซ้อนต่อระบบหัวใจที่พบได้ เช่น Myocarditis, Heart Failure, Myocardial infraction
ภาวะแทรกซ้อนต่อระบบประสาท
ส่วนใหญ่พบในกลุ่มวัยเด็ก และภาวะแทรกซ้อนจ่อระบบประสาทที่พบได้ คือ
Encephalitis
Encephalopathy
Guillain-Barre syndrome
Focal neurologic deficits
Acute disseminated encephalomyelitis
Transverse myelitis
อาการทางจิต
ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย คือ ปอดบวม
การป้องการ
เฝ้าระวัง ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด และวิเคราะห์ความเสี่ยงการเกิดโรคระบาด
เตรียมพร้อมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วทั่วประเทศ และควบคุมโรคเบื้องต้น
การให้วัคซีนในกลุ่มเสี่ยง
เตรียมพร้อม และสนับสนุนเวชภัณฑ์ที่จำเป็น เช่น ยาต้านไวรัส หน้ากากอนามัย ให้เพียงพอกับสถานพยาบาลทั่วประเทศ
สื่อสารความเสี่ยง ให้กับประชาชนตามช่องทางสื่อสารต่างๆ
คำแนะนำสถานที่รวมตัวคนหมู่มาก เช่น สถานศึกษา ค่ายทหาร เรือนจำ
กลุ่มเป้าหมายในการให้บริการฉีดวัคซีน
บุคลากรทางการแพทย์ที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรค
ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
ธาลัสซีเมียและผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ)
โรคอ้วน (น้ำหนัก > 100 กิโลกรัม หรือ BMI > 35 กิโลกรัมต่อตารางเมตร)
หญิงตั้งครรภ์ อายุครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป
เด็กอายุ 6 เดือน ถึง 2 ปี ทุกคน
ผู้มีโคเรื้อรัง ดังนี้ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย ผู้ป่วยมะเร็งที่อยู่ระหว่างการได้รับเคมีบำบัด และเบาหวาน
บุคคลที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป ทุกคน
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วย
ให้ปฏิบัติ เรื่อง การทำความสะอาดมืออย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะการติดต่อของโรค
ต้องสวมหน้ากากอนามัยปิดปาก ปิดขมูกตลอดเวลา นอกจากเวลารับประทายอาหารและทำกิจธุระส่วนตัว
เวลาไอต้องปิดปาก จมูก ด้วยกระดาษชำระ หลังจากนั้นต้องล้างมือทุกครั้ง
หลีกเลี่ยงการคลุกคลีกับบุคคลในครอบครัว, ไม่ควรไปในที่ชุมชน และให้หยุดงาน/หยุดเรียนจนกว่าจะพ้นระยะการติดต่อของโรคคือ 7 วันหลังเริ่มป่วยหรืออย่างน้อย 1 วันหลังไม่มีไข้
หากมีอาการมากขึ้น เช่น ไข้สูงเกิน 45 ชั่วโมง ไอมาก เจ็บหนน้าอก หายใจเร็ว เหนื่อย อ่อนเพลีย รับประทานอาหารไม่ได้ อาเจียน หรือถ่ายอุจจาระมากให้รีบพบแพทย์
ไข้ปวดข้อยุงลาย Chikungunya
การติดต่อ
ติดต่อโดยยุงลาย เกิดจากเชื้อไวรัส Chikungunya virus (ย่อว่า CHIK V) มีแมลงเป็นพำหะโรค (Arbovirus) โดยรังโรค คือ ลิง หนู นก แต่ในช่วงมีกำรระบำดของโรค รังโรค คือ คน
อาการสำคัญ
ข้อบวม และข้ออักเสบ จนเกิดการผิดรูป
การแพร่ติดต่อโรค
ยุงลายบ้าน Aedes aegypti เป็นสาเหตุการระบาดในเขตเมือง
ส่วนในเขตอบอุ่นและเขตหนาวมักเกิดจากยุงลายสวน Aedes albopictus เป็นสาเหตุของโรคในเขตชนบท
ระยฟักตัวของโรค : 2-12 วัน
(โดยทั่วไป 4-7 วัน)
อาการ
ไข้เฉียบพลัน (มักมีไข้สูง 39-40 ํC แต่บำงรำยก็เป็นไข้ต่ำได้)
ปวดศีรษะมาก คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย
ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการปวดข้อ ข้อบวมแดงอักเสบและเจ็บ
หลังจากนั้นจะเกิดผื่นบริเวณลำตัวและแขนขา ไม่คัน
ไข้อาจจะหายในระยะนี้ (ระยะ 2-3 วันหลังเริ่มป่วย) ผื่นนี้จะลอกเป็นขุยและหายได้เองภายใน 7-10 วัน
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอโต
การวินิจฉัยโรค
Enzyme-linked immunosorbent assays (ELISA) เพื่อตรวจหาแอนติบอดี IgM หรือ IgG ต่อเชื้อ genus Alphavirus ซึ่งระดับ IgM มักจะสูงสุดช่วง 3-5 สัปดาห์หลังเริ่มป่วยและคงอยู่นานประมาณ 2 เดือน
RT-PCR (Reverse transcriptase–polymerase chain reaction) มีการใช้กันมากขึ้นในปัจจุบัน
การรักษา
ไม่มีการรักษาจำเพาะ ใช้การรักษาตามอาการ โดยเฉพาะอาการปวดข้อ กินยาพำรำเซตามอลเพื่อลดไข
ห้ามกินยาแอสไพริน รวมถึง NSAID อื่น เช่น Ibuprofen เนื่องจำกอาจทำให้เกิดเลือดออกได้ง่ายขึ้น
เช็ดตัวด้วยน้ำสะอาดเป็นระยะเพื่อช่วยลดไข้
ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำและนอนหลับพักผ่อนให้พอเพียง
มาตรการป้องกันโรค
สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ และให้สุขศึกษาแก่ชุมชน
สำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน เพื่อประเมินควำมชุกชุมของยุงพาหะ
ปิดฝาโอ่ง
เปลี่ยนน้ำในจานรองขาตู้ แจกัน ฯลฯ ทุก ๆ 7 วัน
ปล่อยปลากินลูกน้ำในอ่างบัว
การป้องกันยุงกัด
นอนในห้องมุ้งลวด หรือนอนกางมุ้ง
เปิดพัดลม
การใช้ยากันยุง ยาทากันยุง ฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุง
Typhus
การติดเชื้อ
แบ่งย่อยได้ 3 กลุ่ม
1.กลุ่ม spotted fever
ได้แก่โรค Rocky mountain spotted fever (RMSF), โรค Rickettsial pox และโรค Boutonneuse fever
2.กลุ่ม typhus
ได้แก่ โรค Louse-bornำ typhus, โรค Brill-Zinsser disease และ murine typhus
3.กลุ่ม scrub typhus
เชื้อโรค Rickettsia อาศัยอยู่ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
มีแมลงเป็นพาหะนำโรคถ่ายทอดเชื้อมาสู่คนที่โดนแมลงกัด
Scrub typhus
ต้องมีหนูป่า (Wild rat) โดยเฉพาะหนูใน Subgenus Rattus
ต้องมีไรอ่อน (Chigger) ในกลุ่ม Leptotrombidium delicense
พื้นที่ที่เป็นแหล่งอาศัยของไร (Transitional vegetation)
มีเชื้อ Orientia tsutsugamushi
ระยะฟักตัว
ปกติ 10-12 วัน (อาจแตกต่างกันได้ตั้งแต่ 6-21 วัน)
ระยะติดต่อของโรค
ไม่มีการติดต่อจากคนสู่คน คนเป็น Accidental host
อาการสำคัญ
มีไข้สูง ปวดศีรษะ +/- หนาวสั่น
มีผื่นแดงตามตัว
เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ถ่ายเหลว
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดตัว ปวดศีรษะ
ต่อมน้ำเหลืองโตอักเสบ
ไอแห้งๆ
อาจมีรอยการถูกแมลงกัดที่ผิวหนัง เป็นแผลขอบยกสีแดง มีสะเก็ดสีดำตรงกลาง eschar
ภาวะแทรกซ้อน
Hepatitis >> Acute hepatic failure
Pneumonitis
Acute renal failure
Pneumonitis
ARDS
Septic shock
การรักษา
Doxycycline 100 mg BID x 7 day, OR
Tetracycline 500 mg BID x 7 days, OR
Chloramphenicol (50-75 mg/kg/day) x 7 day, OR
Ciprofloxacin และOfloxacin
โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
สาเหตุ
Zika virus อยู่ในกลุ่มของ Flavivirus
ระยะฟักตัว
3 - 12 วัน โดยเฉลี่ย 4 - 7 วัน
พาหะนำโรค
ยุงลาย (Aedes aegypti)
การติดต่อ
การติดต่อที่สำคัญที่สุด คือ การถูกยุงลายที่มีเชื้อกัด
อาการ
ผื่น ไข้ เยื่อบุตาอักเสบ
ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ
อาการป่วยจะปรากฏอยู่เพียง 4-5 วัน และมักจะมีอาการไม่เกิน 1 สัปดาห์
อาการรุนแรงถึงขั้นต้องรับไว้รักษาตัวในโรงพยาบาลพบได้น้อย
อาการผิดปกติที่พบในทารก
สามารถแพร่เชื้อสู่เด็กในครรภ์ได้ในทุกไตรมาส
ทารกศีรษะเล็ก
พบแคลเซียมเกาะในสมองทารก
ทารกตัวเล็กกว่าอายุครรภ์
ทารกตายในครรภ์
การมองเห็นผิดปกติ
การรักษา
ไม่มียารักษาเฉพาะ เป็นการรักษาแบบประคับประคอง
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการท าได้โดยการตรวจ
สารพันธุกรรมได้ 2 วิธี
In-house (US-CDC) protocol
Altona kit (RealStar Zika Virus RT-PCR Kit 1.0)
ไข้มาลาเรีย
การติดเชื้อ
เกิดจากเชื้อพลาสโมเดียม (Plasmodium) มียุงก้นปล่องเป็นพาหะ
การติดต่อ
โดยถูกยุงก้นปล่องที่มีเชื้อมาลาเรียในต่อมน้ำลายกัด
ติดต่อจากมารดาซึ่งมีเชื้อมาลาเรียในร่างกายและถ่ายทอดทางรกไปสู่ทารกในครรภ์
ติดต่อโดยวิธีการถ่ายเลือด
อาการ
ระยะฟักตัวในผู้ป่วยใช้เวลา 10-14 วัน
อาการไข้ 3 ระยะ คือ
ระยะหนาว (cold stage) เป็นเวลา 15-60 นาที ผู้ป่วยจะรู้สึกหนาวมาก มีอาการสั่นเกร็ง
ระยะร้อน (hot stage) ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง โดยผู้ป่ วยมีอาการร้อน อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น
ระยะเหงื่อออก (sweating stage) ระยะนี้กินเวลาราว 1 ชั่วโมง ผู้ป่วยเริ่มมีเหงื่อออกตามหน้า บริเวณขมับ และผิวหนังลำตัว
การจับไข้
การจับไข้ครั้งแรก (Primary attack) หลังจากระยะฟักตัว
การเกิดอาการไข้กลับของไข้มาลาเรีย (Relapse)
Recrudescence เป็นอาการไข้กลับที่เกิดจากระยะเชื้อในเม็ดเลือดแดง
Reinfection คือการเกิดอาการของไข้มาลาเรียโดยได้รับเชื้อครั้งใหม่
การวินิจฉัย
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
ผลแล็บ Thick film, Thin film
การตรวจ Antigen, Antibody
การใช้ชุดตรวจอย่างเร็ว (Rapid test)
การตรวจผลทางชิ้นส่วนพันธุกรรม PCR
การรักษา
โรคไข้มาลาเรียชนิดฟัลซิปารัมที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
1.1 ในพื้นที่ที่ยังไม่พบการดื้อต่อยา Dihydroartemisinin-Piperaquine
ยาที่ใช้รักษา:
Dihydroartemisinin-Piperaquine ร่วมกับ Primaquine
การบริหารยา:
รับประทานยา Dihydroartemisinin-Piperaquine 3 วัน และ Primaquine 1 วัน
1.2 ในพื้นที่ที่พบการดื้อต่อยา Dihydroartemisinin-Piperaquine
ยาที่ใช้รักษา:
Artesunate-Pyronaridine ร่วมกับ
Primaquine
การบริหารยา:
รับประทานยา Artesunate-Pyronaridine 3 วัน และ Primaquine 1 วัน
โรคไข้มาลาเรียชนิดไวแวกซ์หรือโอวาเล่ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ยาที่ใช้รักษา:
Chloroquine ร่วมกับ Primaquine
การบริหารยา:
Chloroquine 3 วัน และ Primaquine 14 วัน
โรคไข้มาลาเรียชนิดมาลาริอีและโนเลไซที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ยาที่ใช้รักษา:
Chloroquine
การบริหารยา:
รับประทานยา 3 วัน
กลุ่มอาการปวดศีรษะ
การประเมิน
การปวดศีรษะอย่างเดียว และตรวจไม่พบความผิดปกติอย่างอื่น
เป็นกลุ่มที่พบบ่อยที่สุด
สาเหตุส่วนใหญ่ เป็นจาก functional headache
ผู้ป่วยปวดศีรษะ และ PE ไม่พบความผิดปกติ มีส่วนน้อยที่เป็น organic headache
การปวดศีรษะ โดยมีความผิดปกติ ของโรคทางกายอื่นๆ
อาจเกิดจากโรคบริเวณศีรษะ
บางครั้งอาจ Dx ได้เลย บางครั้งต้องส่งปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
การปวดศีรษะที่ตรวจพบความผิดปกติ หรือ มีประวัติของโรคทาง
ระบบประสาทส่วนกลาง หรือ มีอาการ หรือ อาการแสดงของการระคายเคืองต่อเยื่อหุ้มสมอง (Structural causes)
ส่วนใหญ่เป็น organic headache ที่เกิดจากพยาธิสภาพในกะโหลกศีรษะ เช่น ก้อนในโพรงกะโหลกศีรษะ, เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การปวดศีรษะจากสมอง ที่ไม่มีสิ่งกินที่ (Non-Structural causes)
Migraine
ปวดศีรษะเป็นๆ หายๆ ปวดแต่ละครั้งไม่เกิด 72 ชั่วโมง
อาการปวดศีรษะจะต้องร่วมกับความผิดปกติทางการมองเห็นหรืออาการทางระบบทางเดินอาหาร
Promonitory symptom and sign
หน้าซีด ขอบตาคล้ำ หนังตาหนักๆหรือตาลึก
นอนมาก เหนื่อยง่าย พูดไม่ชัด คิดคำพูดไม่ออก พูดน้อยลง
-ผิวหนังอาจไวต่อความรู้สึก ทนต่อการสัมผัสไม่ได้
Aura
เป็นปรากฎการณ์ทางระบบประสาทที่เกิดก่อนอาการปวดศีรษะ ประมาณ 30 นาที
มีลักษณะค่อยๆเป็นมากขึ้น บางครั้งจะเห็นภาพมัวไปในตาข้างงหนึ่งข้างใด ภาพที่เห็นอาจเป็นขอบหยักๆ อาจเป็นสีขาวหรือมีสีสันต่างๆได้
อาจพบเห็นเป็นภาพแค่ครึ่งซีก
มีอาการชาที่นิ้วมือแล้วลามไปที่แขนและหน้า
จะมีอาการอยู่ 5-60 นาที ส่วนมาก 20-30 นาที
Headache
มักเริ่มเป็นช้าๆ ในเวลา 30-60 นาที ก่อนที่ปวดศีรษะจะมากสุด
ลักษณะปวดศีรษะ มีไม่ถึง 50% ที่ปวดแบบตุ๊บๆที่เหลือมักปวดตื้อๆหรือปวดเหมือนมีอะไรมารัด
ลักษณะที่สำคัญ
คือ
อาการปวดในตำแหน่งต่างๆจะย้ายที่ได้และย้ายข้างได้
อาการปวดจะเป็นมากเมื่อมีการเคลื่อนไหวศีรษะ
อาการร่วมขณะปวดศีรษะ มักเป็นอาการทางระบบประสาทและอาการทางระบบประสาทอัตโนมัติ
อาการปวดศีรษะจะหายไป ภายหลังได้นอน 45 นาที ถึง 3 ชั่วโมง หรือ ภายหลังดื่มร้อนๆ ภายหลังอาเจียน หรือได้ยาแก้ปวด
Postdromes
อาการสำคัญ คือ อ่อนเพลีย
อาจมีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อและปวดกล้ามเนื้อ
อาการ euphoria หรือมีอารมณ์ไม่แจ่มใส ขาดสมาธิ หงุดหงิด
อาการจะเป็นอยู่นาน 1 ชั่วโมง ถึง 4 วัน (เฉลี่ย 2 วัน)
การรักษา
หมั่นสังเกตสิ่งกระตุ้น เพื่อจะได้หลีกเลี่ยง
ยา
Analgesic : Paracetamol, NSAIDs(naproxen), Mixed analgesic preparation, Narcotics analgesic, Aspirin
ยาในการรักษาแบบป้องกัน
มี Acute attack บ่อย เช่น เกิน 2 ครั้งต่อเดือน
การเกิด attack แต่ละครั้งรุนแรง
ผู้ป่วยไม่สามารถรับประทานยาในกลุ่มที่รักษา acute attack ได้
ยาในกลุ่มนี้ ไม่ใช่ยาแก้ปวดจึงรักษา acute attack ไม่ได้ และต้องรับประทานยาทุกวัน เป็นระยะเวลา 4-6 เดือน
โรคไข้เลือดออก
อาการ
ปวดศีรษะ
ปวดกระบอกตา
ปวดเมื่อยตามตัว ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ/กระดูก
ผื่น
อาการเลือดออก : จุดเลือดออก เลือดกำเดา อาเจียน/ถ่ายเป็นเลือดหรือสีดำ
เม็ดเลือดขาวต่ำ
เกร็ดเลือดจ่ำกว่า 150,000 เซล/ลบมม.
Hct เพิ่มขึ้น 10-20%
การวินิจฉัย
: Tourniquet test positive + WBC <= 5,000 cells/cu.mm, PPV 80%
อาการทางคลินิก
ไข้สูงลอย 2-7 วัน
อาการเลือดออก : การตรวจทูนิเกต์ให้ผลบวก จุดเลือดออกตามตัว
ตับโต
ช็อก
ความรุนแรงของโรคไข้เลือดออก
เกรด 1 ไม่มีอาการเลือดออก มีแต่การตรวจทูนิเกต์ให้ผลบวก
เกรด 2 มีอาการเลือดออกร่วมด้งย เช่น มีจุดเลือดออก มีเลือดกำเดา อาเจียนเป็นเลือด
เกรด 3 มีอาการช็อค
เกรด 4 มีอาการช็อคนาน ความดัน/ชีพจรวัดไม่ได้ ควเป็นลาย ตัวเขียว
การดูแล
ให้การตรวจคัดกรองเพื่อการวินิจฉัย โดยการตรวจทูนิเกต์
ให้การดูแลรักษาในระยะไข้ 2 วันแรก
Acute pharyngitis
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก viral infection
มีลักษณะที่สงสัยคือ vesicular หรือ petechial pattern ที่ soft palate และ tonsils มีน้ำมูก คัดจมูก ตาแดง
กลุ่มอายุเด็กที่มักพบคืออายุมากกว่า 3 ปี (3-14 ปี)
TONSILLITIS
อาการ
เจ็บคอ โดยเฉพาะต าแหน่งมุมขากรรไกร ถ้าเป็นมาก อาจเจ็บร้าวไปที่หูได้ กลืนเจ็บ กลืนลำบาก
ต่อมทอนซิลโตบวมแดง และ อาจมีหนองบริเวณต่อมทอนซิล
ต่อมน ้าเหลืองที่คอโต
การรักษา
เกิดจากไวรัสจะรักษาตามอาการ เช่น ให้ยาลดไข้ ยาพ่น หรือยาอมแก้เจ็บคอ
เกิดจากแบคทีเรียต้องเพิ่มยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งโดยส่วนใหญ่ประมาณ 7-10 วัน
นางสาวอนัญญา เพทวงค์ เลขที่ 85 รหัสนักศึกษา 62126301088