Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chest injury - Coggle Diagram
Chest injury
Chest injury
1.Immediate Life-threatening chest injuries
tension pneumothorax
อาการและอาการแสดง
เจ็บแน่นหน้าอก
หายใจ Air hunger
มีภาวะ Respiratory distress
ชีพจรเต้นเร็ว
ความดันโลหิตต่ำ
Neck vein distention
หลอดลมโดนดันไปด้านตรงข้ามของปอดที่มีปัญหา
เสียงปอดลดลงในด้านที่เป็น tension pneumothorax
หน้าอกด้านที่เป็น tension pneumothorax ยกสูง
เขียว
Treatment
1.Needle Thoracotomy at 2nd Intercostal space, mid-clavicular line, depth 5 cm
2.ICD at the same site (4th or 5th Intercostal space, anterior to mid-axillary line)
3.CXR
ประเมินผู้ป่วย
ให้ออกซิเจนผ่าน Mask with bag
ระบุตำแหน่ง : ตรงระหว่างซี่โครงที่2 บริเวณกึ่งกลางไหปลาร้า (second intercostal space, in the midclavicular line)
ทำความสะอาดบริเวณที่กำหนด
ฉีดยาชา
ถ้าไม่มี C-spine injury ให้ผู้ป่วยนอนยกหัวสูง 30 องศา
ใช้เข็มเบอร์ 16 หรือ 18 ต่อกับ 3-way และ syringe 10 cc ที่มีน้ำ 5 cc แทงผ่านผิวหนัง ประมาณ 5 cm
แทงผ่าน Parietal pleura
จะสังเกตว่ามีลมผ่านเข้ามาใน syringe
ถอด syringe และหมุน 3-way ให้เปิดเพื่อระบายลม
ยึดให้แน่นด้วยพลาสเตอร์
ใส่ ICD ด้านเดียวกัน
ทำ chest x-ray film
Open pneumothorax
Treatment
ปิดบริเวณแผลด้วย sterile occlusive dressing : Three side technique
ใส่ ICD
Flail chest
อาการที่พบ
หายใจเข้าออก มีอาการเจ็บ หอบเหนื่อย มีอาการตัวเขียว
Paradoxical movement of chest wallมี
เกิดความผิดปกติร่วมได้แก่
-hemothorax
-pneumothorax
-lung contusion
-subcutaneous empyema
Flail Chest with pulmonary contusion Treatment
ให้ Adequate ventilation
ให้ oxygen
ให้สารน้ำ resuscitation
ให้ยาแก้ปวด
เฝ้าระวัง Respiratory Failure
Massive Hemothorax
ได้เลือดทันที 1,500 cc
continuing blood loss (200 cc/hr. ตลอด 2-4 hr.)
Treatment
ให้เลือดทดแทน
ใส่ ICD เพื่อ Decompression
อาจจะต้องทำ Emergency Thoracotomy
Cardiac Tamponade
การรักษา
Immediate needle pericardiocentesis, urgent thoracotomy
ถ้ามี cardiac arrest พิจารณาทํา ER thoracotomy for resuscitation
Air Embolism
เกิดจากการบาดเจ็บของหลอดลมร่วมกับ pulmonary vein มักพบใน penetrating injury ผู้ป่วยเกิด systemic air embolism
เกิดอาการ Stroke, MI ,ARF ได้ และเสียชีวิตจากลมเข้าไปอุดใน coronary artery
วินิจฉัยได้ยาก แต่จุดสังเกต คืออาการมักแย่ลงทันทีหลัง ใส่ positive pressure ventilation
การรักษาทําได้โดยการทํา ERT เพื่อทํา Hilar clamping และ เจาะลมออกจากหัวใจห้องซ้ายและ ascending aorta ทํา internal cardiac massage
Emergency Room Thoracotomy (ERT)
หรือ Resuscitative Thoracotomy ทําในผู้ป่วย ที่มี chest injury ที่เกิด witness cardiac arrest ที่ ER หรือ CPR มาไม่เกิน 15 นาที
ไม่แนะนําทําใน blunt injury
เด็ก และผู้ใหญ่ ไม่แตกต่างในแนวทางการจัดการ
จุดประสงค์หลักเพื่อ control bleed โดยการ cross clamp thoracic Aorta และทํา Cardiac massage
Immediate Life-threatening chest injuries ประเมินเบื้องต้นตามหลัก ATLS
A : Airway maintenance with C-spine protection
B : Breathing and Ventilation
การประเมิน
ดูการเคลื่อนไหวของผนังทรวงอก ทั้ง 2 ข้าง symmetry หรือมี paradoxical movement
ตรวจหาบาดแผล รอยฟกช้ำ
ดูการหายใจ ทั้ง Rate และ Pattern
ดู Neck vein
คลำตำแหน่ง Trachea
คลำผนังทรวงอกตามแนวกระดูกซี่โครง ว่ามี tenderness หรือ crepitus หรือไม่ มี Subcutaneous emphysema หรือไม่
ฟังเสียงลมหายใจเข้าออก เทียบกันทั้ง 2 ข้าง
การช่วยเหลือ
ให้ออกซิเจน
ใส่ ICD เบอร์ 28-32 Fr.
ให้ยาแก้ปวด
Pulse Oximetry monitoring
ไม่ควรใส่ท่อหลอดลมคอ เป็นอันดับแรก ในรายที่สงสัยมี Simple pneumothorax
C : Circulation and Hemorrhage control
D : Disability
E : Exposure and Environment control
2.Potential Life-threatening chest injuries
Rib fracture
ตรวจคลําพบจุดกดเจ็บ มีรอยชํ้าหรือ บวมบริเวณทรวงอก
Dx. CXR
Conservative Rx
-Pain control
-F/u Cxr 12-24 ชม.
-เฝ้าระวัง Hemothorax ,pneumothorax and lung contusion
-ติดตามดูการหายใจและระดับ oxygen sat %
กรณีกระดูกซี่โครง ซี่ 1-2 หักให้คิดถึงโรคร่วมอื่นที่อวัยวะข้างเคียง
Sternal fracture
มักพบในผู้ป่วยที่ประสบอุบัติเหตุ รถยนต์เกิดจากอกกระแทกพวกมาลัย
ตรวจโยการคลําพบ stepping หรือรอยชํ้าบริเวณดังกล่าว
Dx CXR กรณีสงสัย มีอาการบาดเจ็บอื่นร่วม พิจารณาCT
กลุ่มนี้แสดงถึง severe mechanism injury
ให้เฝ้าระวัง Cardiac injury ร่วมด้วย EKG
ให้ยา pain control และเฝ้าระวัง futher injury เช่นเดียวกับ Fx rib
Simple Pneumothorax
ตรวจร่างกายพบ
-decrease breath sound
-hyperresonance on percussion
-Subcutaneous empyema
ไม่มีhypotension และ tracheal deviation
-Hypoxia ขึ้นอยู่กับปริมาณ pneumothorax
Rx ด้วย ICD และตาม F/u CXR
ถ้า conservative ไม่ดีขึ้น ใน2 สัปดาห์ให้ส่งพบ CVT เพราะอาจมี laceration ของ lung หรือ bronchus injury
Simple Hemothorax
Dx CXR
Rx ICD F/u CXR และพิจารณาให้เลือด pain control
พิจารณาผ่าตัดเมื่อเป็น
-massive hemothorax
-clotted hemothorax ( ประมาณ 1 สัปดาห์)
-empyema thoracis
Great vessel injury
วินิจฉัยเมื่อ ผู้ป่วยมีประวัติ severe mechanism injury ร่วมกับ ลักษณะผิดปกติทาง CXR และ confirm ด้วยการ CTA ถ้าผู้ป่วย stable
Sign จาก CXR
1.Widening Mediastinum
2.Trachea shift to the right
3.Esophagus deviate to the right (NG tube)
4.Present of Apical cap
5.Obliteration of Aortic knob
6.Obliteration of Aorto-Pulmonary window
7.Depression of left main bronchus
8.Widening of paraspinal interface
9.Fracture of first, second ribs and scapular fracture
Funny-looking mediastinum
Left pleural effusion without rib fracture
Treatment
Open repair
endovascular repair
Injury to Tracheobronchial tree
Clinical
-Hemopthysis
-persistent pneumothorax
-Massive subcutaneous empyema
-atelectasis
-Tension pneumothorax
ผ่าตัดเมื่อ
Failure conservative treatment
Massive air leakage
Injury to thoracic esophagus
Clinical อาการมักไม่ชัดเจน
-chest pain
-Hematemesis
-Sepsis
Investigation
-CXR พบ pnemomediastinum
-Water-soluble contrast esophagography
-Esophagoscope
-CT scan
OFF ICD เมื่อ ?
1.Fluid < 100 cc/d ต่อเนื่องอย่างน้อย 2 วัน
2.Content เป็น seroma สีเหลืองใส
3.CXR ขยายตัวดี
Trick
-ในกรณีถ้าเป็นจาก penetrating wound จะพิจารณา clamp สายดูก่อนแล้ว F/u CXR ก่อน off สายICD
-เลือดกับหนองก็ยังไม่ควร off ICD
-massive air leakgage พิจารณาต่อ ICD 3 ขวดแล้วต่อ sucction
-Conservative ประเมินที่ 2 สัปดาห์ถ้าไม่ได้ผล refer to CVT สําหรับรพ.ที่ไม่มี CVT
Lung contusion
definition
direct or indirect damage of the parenchyma of the lung that leads to oedema or alveolar hematoma
สูญเสียการทํางานในการแลกเปลี่ยน oxygen รายที่รุนแรงมาก อาจเกิด ARDS ตามมาภายหลังประมาณ 20 % สามารถเกิด ARDS ได้ใน 24 ชม.
Treatment
1.ให้ Oxygen ให้เพียงพอ และเมื่อเริ่มเกิด ARDS ให้เป็นpositive pressure ventilation
ให้ IV ให้เพียงพอ แต่เฝ้าระวัง
-hypovolemia เพราะจะยิ่งทําให้เกิด hypoxia
-hypervolemia เพราะยิ่งทําให้เกิด pulmonary edema
3.Monitoring
-V/s
-ABG
-CXR
monitoring of pulmonary artery pressure, the normal range of which is 25–30/9–10 mmHg
4.Pain control
5.เฝ้าระวัง ARDS และแก้ภาวะแทรกซ้อนร่วมทั้ง Hemo/pneumothorax
ถ้าติดตาม CXR แล้วอาการไม่ดีขึ้นใน 10วัน พิจารณารักษาภาวะ pneumonia ร่วม
Cardiac contusion
pathophysiology
การบาดเจ็บที่ทรวงอกทําเกิดภาวะ
impaired ventilation (อัตราการหายใจ)
impaired gas exchange at alveoli (ระดับ oxygen sat)
impaired circulation (ความดันโลหิต)
ส่งผลทําให้เกิดภาวะ hypoxia, hypercarbia และ acidosis เป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้