Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปครั้งที่ 5 โรคกลุ่มอาการปวดศีรษะและ กลุ่มอาการผิดปกติ ตา หู คอ จมูก…
สรุปครั้งที่ 5 โรคกลุ่มอาการปวดศีรษะและ กลุ่มอาการผิดปกติ ตา หู คอ จมูก และกลุ่มอาการทางผิวหนัง
Acute pharyngitis
เจ็บคอ ไอก็ได้ไม่ไอก็ได้ อาจมีไข้ หรือ ไม่มีไข้ก็ได้ขึ้นอยู่กับสาเหตุว่าเป็น viral infection หรอื bacterial infection
Bacterial pharyngitis
ไข้หนาวสั่น เจ็บคอมากทันที
กลืนเจ็บปวดหัว คลื่นไส้อาเจียน
Viral pharyngitis
vesicular หรือ petechial pattern ท่ี soft palate และ tonsils, มีน้ำมูก คัดจมูกตาแดง
Tonsillitis
อาการ
เจ็บคอ โดยเฉพาะตำแหน่งมุมขากรรไกร
มีไข้ ปวดหัว กลืนเจ็บ และกลืนลำบาก
ในเด็กเล็กที่ยัวพูดไม่ได้
มีน้ำลายไหลออกจากมุมปาก ไม่ยอมกินอาหาร และงอแง
การรักษา
การใช้ยาต้องดูว่าเกิดจากแบคทีเรีย หรือ เชื้อไวรัส
แบคทีเรียต้องเพิ่มยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
ประมาณ7-10วัน
ไวรัสจะรักษาตามอาการ เช่น ให้ยาลดไข้ ยาพ่นหรือ ยาอมแก้เจ็บคอ
Avian Influenza
อาการ
ระยะฟักตัวประมาณ1ถึง 3วัน
มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อ่อนเพลียน้ำมูกไหล ไอและเจ็บคอ
พบอาการตาแดง อาจหายได้เองภายใน2-7วัน
อาการรุนแรงถึงปวดบวม และเกิดระบบหายใจ ล้มเหลวโดยเฉพาะในเด็กและผู้สูงอายุ
การป้องกัน
ในกรณีท่ีสัมผัสสัตว์ปีก
ใช้แว่นป้องกันของเหลวกระเด็นเข้าตา,ใส่เสื้อผ้ามิดชิด,ล้างมือบ่อยๆ มีอาการป่วยโดยเฉพาะผู้สัมผัสสัตว์ ให้พบแพทย์โดยเร็ว
การรักษา
โรคไข้หวัดใหญ่
สาเหตุ
ชนิด A
ทำให้เกิดโรคระบาดทั้วโลก
ชนิด B
เกิดการระบาดในระดับภูมิภาค
ชนิด C
เป็นการติดเชื่ออย่างอ่อน หรือไม่มีอาการแสดงทำให้เกิดโรคระบาด
การติดต่อ
ไอ จาม หรือหายใจเอาฝอยละอองเข้าไป เชื้อทางอ้อมผ่านทางมือหรือเครื่องใช้ที่ปนเปื้อน
อาการ
ไข้ ปวดศรีษะ เจ็บคอ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ไอแห้งๆ คัดจมูกน้ำมูกไหล
การวินิจฉัย
ตรวจหาไวรัส
จากคอหอย หรือ สารคัดหลั่งจากจมูกหรือ น้ำล้างโพรงจมูก
การตรวจแยกสาร Antigen ของไวรัส
โดยตรงในเซลล์จากโพรงจมูกและ ของเหลว (FA , ELISA)*
การเพิ่มจำนวน RNA ของไวรัส
โดยการตรวจหา Antibody titer ใน paired serum
การรักษา
รักษาตามอาการและพิจาณาให้ยายาโอเซลทามิเมียร์
ผู้ใหญ่ > 40 กก. ขนาดยา 75 มก. วันชะ 2ครั้ง
เด็ก>1ปี , < 15 กก. ขนาดยา 30 มก.วันชะ 2ครั้ง
เด็ก<3เดือน ขนาดยา 12มก. วันละ 2ครั้ง
การให้าต้านไวรัสกับผู้ป่วยที่สงสัยโรคไข้หวัดใหญ่
ให้ยาต้านไวรัสเร็วที่สุดโดยไม่ต้องรอผลตรวจ
ผู้ป่วยที่อาการรุนแรง
สงสัยปอดอักเสบ ซึมผิดปกติ
กินไม่ได้ น้อยกว่าปกติ อาการไม่ดีขึ้น หลัง 48 ชม.ตั้งแต่เริ่มป่วย
ไอถี่ๆ หลังไปรู้สึกเหนื่อย ชีพจร เร็วกว่า 90 ครั้ง/นาที
ให้ยาต้านไวรัสเร็วที่สุด
กลุ่มเสี่ยงมาก
โรคอ้วน หญิงตั้งครรภ์ หลังคลอด 14วัน โรคหอบหืด โรคตับ โรคไต ธาลัสซีเมีย โรคลมชัก
ให้ยาต้านไวรัสเร็วที่สุด หรือเฝ้าระวังอาการหากไม่ดีขึ้นหลัง ^8 ชม.จึงให้ยาต้านไวรัส
กลุ่มเสี่ยงน้อยกว่า
อายุ <2ปี >65ปี เบาหวาน ความดันโลหิตสูงไม่มีภาวะแทรกซ้อน ติดเชื้อ HIV
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อระบบทางเดินหายใจ
Influenzal pneumonia, Tracheo- bronchitis,Bronchitis,Hypoxemia,Asthma
ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
Myocarditis,Heart Failure,Myocardial infraction, CHF
ต่อระบบประสาท
Encephalitis,Encephalopathy,Guillain-Barre syndrome,อาการทางจิต
Covid-19
อาการ
ไอ เจ็บคอ ไข้ ปวดกล้ามเนื้อ มีน้ำมูก ปวดศรีษะ
การรักษา
ผู้ป่วยไม่มีอาการหรือสบายดี
ให้แยกกักตัวที่บ้าน ไม่ให้ยาต้านไวรัส เข่น favipiravir อาจให้ฟ้าทะลายโจรตามการรักษาของแพทย์
อาการไม่รุนแรง ไม่มีปอดอักเสบไม่มีปัจจัยเสี่ยง
อาจพิจารณาให้ favipiravir ควรเริ่มยาโดยเร็วที่สุด นามดุลพินิจของแพทย์
หากตรวจพบเชื้อมีอาการมาแล้วเกิน 5วันและผู้ป่วยมีอาการน้อยไม่ต้องสห้ยาต้านไวรัส ผู้ป่วยจะหายได้เอง
อาการไม่รุนแรง มีปัจจัยเสี่ยงต่อโรคที่รุนแรงหรือผู้ที่มีปอดอักเสบ
ปัจจัยเสี่ยง
อายุ >60 ปี , COPD CKD (stage 3 ขึ้นไป) ,DM,HT, ภาวะอ้วน ตับแข็ง แนะนำให้ยาต้านไวรัสเพียง 1ชนิด ควรเริ่มภายใน 5วันตั้งแต่เริ่มมีอาการ
ผู้ป่วยที่มีปอดอักเสบ ออกซิเจน< 94%
แนะนำให้ remdesivir โดยเร็วที่สุดเป็นเวลา 5-10วัน ติดตามอย่างใกล้ชิด ร่วมกับ corticosteroid
ไข้ปวดข้อยุงลาย
(Chikungunya)
อาการ
ไข้เฉียบพลัน
(39-40องศา) บางรายมีไข้ต่ำได้
ปวดศรีษะมาก
คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย
ปวดข้อ
ข้อบวม แดง อักเสบและเจ็บ
หลังจากนั้นจะเกิดผื่น
บริเวณลำตัวและแขนขา ไม่คัน ผื่นนี้จะลอกเป็นขุย หายเองภายใน 7-10วัน
พบต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอโต
อาการปวดข้อ จะหายภายใน 2-3วัน
การวินิจฉัย
Enzyme-linked immunosorbent assays (ELISA)เพื่อตรวจหาแอนติบอดีIgMหรอืIgGต่อเชื้อ genus Alphavirusซึ่งระดับ IgM มักจะสูงสุดช่วง3-5สัปดาห์หลังเริ่มป่วย และคงอยู่นานประมาณ 2 เดือน
แยกเชื้อไวรัสจากเลือดผู้ป่วยระยะเริ่มมีอาการในช่วง2-3วันได้โดยการเพาะ เชื้อในลกูหนูไมซ์แรกเกิดในยุง หรือในเซลลเ์พาะเลี้ยง
RT-PCR
การรักษา
ไม่มีการรักษาจําเพาะใช้การรักษาตามอาการ
ห้ามกินยาแอสไพริน รวมถึง NSAIDอื่นเช่นIbuprofenเพราะอาจทำให้เกิดเลือดออกง่ายขึ้น
เช็ดตัวด้วยน้ำสะอาดเป็นระยะเพื่อช่วยลดไข้ ดื่มน้ำและพักผ่อนให้เพียงพอ
โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
(Zika virus disease)
อาการ
ผื่น ไข้ เยื่อบุตาอักเสบ
ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ
อาการป่วยจะปรากฏอยู่เพียง 4-5 วัน และมักจะมีอาการไม่เกิน1 สัปดาห์
การติดต่อ
การติดต่อที่สำคัญที่สุด คือ การถูกยุงลายที่มีเชื้อกัด
การติดต่อจากแม่สู่ลูกผ่านทาง Intrauterine และ Perinatal
ทางเลือด ทางเพศสัมพันธ์ นมแม่
การรักษา
ไม่มียารักษาเฉพาะ เป็นการรักษาแบบประคับประคอง
การตรวจวินิจฉัยไวรัสซิกาทางห้องปฏิบัติการทาได้โดยการตรวจสารพันธุกรรมได้ 2 วิธี
In-house (US-CDC) protocol
Altona kit (RealStar Zika Virus RT-PCR Kit 1.0)
คำแนะนำ
สำหรับผู้ที่บริจาคโลหิต
ไม่มีอาการไข้ หรือผื่นปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ภายใน 4 สัปดาห์ก่อนบริจาคโลหิต
ไม่มีประวัติเพิ่งเดินทางกลับมาจากประเทศท่ีมีการระบาด ภายใน 4 สัปดาห์
หลังจากบริจาคโลหิตแล้วมีอาการไข้ หรือผื่น ร่วมกับอาการอย่างใดอย่างหน่ึง
หลังจากบริจาคโลหิตแล้ว
ภายใน 2 สัปดาห์
ต้องรีบแจ้งกลับมายังศูนย์บริจาคโลหิต
สกหรับผู้ที่จะเดินทางไปยังประเทศที่มีการระบาด
หญิงตั้งครรภ์ควรหลีกเลี่ยงและระมัดระวังไม่ให้ถูกยุงกัด
สำหรับประชาชนทั่วไป
ยาทาป้องกันยุง สวมใส่เสื้อผ้าเนื้อหนาสีอ่อนๆ
กาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
โรคไข้เลือดออก
(Dengue Fever disease)
อาการ
ไข้สูงลอย 2-7วัน ปวดศรีษะ ปวดเมื่อยตามตัว ปวดกระบอตา ผื่น
อาการเลือดออก
จุดเลือดออก เลือดกำเดา อาเจียน/ถ่ายเป็นเลือด หรือสีดำ
อาการอันตรายที่ต้องรีบนำส่ง รพ.
ไข้ลง/ต่ำลงมาก อาการไม่ดีขึ้น ปวดท้องมาก อาเจียนมาก กระสับกระส่าย เหงื่อออกตัวเย็น ซึม ไม่ปัสสาวะ 4-6 ชม.
เม็ดเลือดขาวต่ำ เกล็ดเลือดต่ำกว่า 150,000 เซล/ลบมม. HCT เพิ่มขึ้น 10-20%
ความรุนแรงของโรค
การวินิจฉัย
tourniquet test
CBC
WBC<5000เซล/ลบมม.
Platelet count <150000 เซล/ลบมม.
Hematocrit เพิ่มขึ้น 10-20%
อย่างช้าที่สุด วันที่ 3ของไข้และตรวจติดตามจนกว่าไข้จะลงย่างน้ย 24 ชม.
การวินิจฉัยภาวะช็อกยาก
เลือดไหลเวียนปลายมือปลายเท้าไม่ดี capillary refill >2 วินาที
ไข้ลง แต่ชีพจรเบา เร็ว ความดันแคบ เช่น 100/80,110/90 mmHg
กาารักษา
การให้สารน้ำทดแทนทางหลอดเลือดดำ
สารน้ำในกลุ่ม
Isotonic crytalloid
ex. 5%dextrose in NSSและ 0.9%NSS
สารน้ำกลุ่ม
balanced crystalloid
ex. acetated Ringer's และ Lactated Ringer's
อาเจียนมาก มีอาการแสดงของภาวะขาดน้ำระดับปานกลางถึงรุนแรง
มีการรั่วขอวพลาสมา ค่าเกล็ดเลือด <_100000/mm3 HCT เพิ่มขึ้น 10%
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะเลือดออกผิดปกติที่ไม่รุนแรง
หลีกเลี่ยงยาที่เพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะเลือดออก
ภาวะเลือดออกผิดปกติที่รุนแรง หรือสงสัย
การให้เลือด, Prolonged shock
ช็อกนาน
เกิน 10 ชม.ถ้าไม่ได้รับการรักษาจะเสียชีวิต
เกิน 4 ชม.
เกิน 10 ชม. ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง
เสียชีวิต
เกิน 4 ชม. ไม่ได้รักษา มีตับวาย โอกาสรอด 50% , มีตับวาย +ไตวาย -โอกาสรอด 10%,มีมากกว่า 3 อวัยวะล้มเหลว
ไข้มาลาเรีย
(Malaria)
อาการ
ระยะฟักตัวในผู้ป่วย เฉลี่ยแล้วใช้เวลา 10-14วัน
ความแตกต่างแล้วแต่เชื้อ เช่น เชื้อฟัลซิปารัม จับไข้ทุก 36-48 ชม.
การจับไข้มาลาเรีย มี 4 ลักษณะ
การจับไข้ครั้งแรก(Primaryattack)
หลังระยะฟักตัว
การเกิดอาการไข้กลับของไข้มาลาเรีย(Relapse)
พบเชื้อหลังหายจากการเป็นเป็นไข้แล้ว
Recrudescence
อาการไข้กลับท่ีเกิดจากระยะเชื้อในเม็ดเลือดแดงของเชื้อมาลาเรียถูกกำจัดไม่หมด
Reinfection
เกิดอาการของไข้มาลาเรียโดยได้รับเชื้อครั้งใหม่ จากเชื้อที่เหลือครั้งก่อน
อาการไข้3ระยะ
ระยะหนาว(coldstage)
รู้สึกหนาวมากมีอาการสั่นเกร็ง Temp สูงขึ้น ชีพจรเบาเร็ว BPเพิ่มขึ้น คลื่นไส้ อาเจียน
ระยะร้อน (hot stage)
Temp สูงขึ้น 39-40 องศาเซลเซียส ชีพจรแรง ผิวหนัง แดงและแห้ง กระหายน้ำ บางคนไม่รู้สติ
ระยะเหงื่อออก(sweating stage)
เกิดนาน 1 ชม. เหงื่อออกตามหน้า ขมับ ลำตัว Tempร่างกายลดลงรวดเร็ว อ่อนดพลีบแล้วเข้าสู่
ระยะพัก
ยไม่มีไข้ ประมาณ 1-2วัน จึงเป็นไข้อีก
การวินิจฉัย
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
ผลแล็บ Thick film, Thin film (ควรตรวจคู่กัน )
การตรวจ Antigen, Antibody
การใช้ชุด ตรวจอย่างเร็ว(Rapid test) (ส่วนใหญ่ยังใช้หา P. knowlesi ไม่ได้
การตรวจผลทางชิ้นส่วนนพันธุกรรมPCR
ระยะฟักตัว
การติดต่อ
ยุงก้นปล่องท่ีมีเชื้อมาลาเรียในต่อมน้ำลายกัด ปล่อยเข้ากระแสเลือด
ติดต่อจากมารดาที่มีเชื้อมาลาเรียในร่างกายและถ่ายทอดทางรก
โดยวิธีการถ่ายเลือดจะพบในรายที่บริจาคโลหิตมีความหนาแน่นของ เชื้อมาลาเรียในกระแสโลหิตต่ำ
ยุงพาหะหลัก
ยุงก้นปล่องชนิดไดรัส(Anophelesdirus)
ยุงก้นปล่องชนิดมินิมัส(Anophelesminimus)
ยุงก้นปล่องชนิดแมคคูลาตัส(Anophelesmaculatus)
การรักษา
โรคไข้มาลาเรียชนิดฟัลซิปารัมที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ในพื้นที่ไม่พบการดื้อต่อยา
ยาที่ใช้รักษา :
Dihydroartenmisnin-Piperaquine ร่วมกับ Primaquine
บริหารยา:
รับประทานยา 3 วัน และ Primaquine 1วัน
ในพื้นที่ที่พบการดื้อยา
ยาที่ใช้ในการรักษา:
Artesunate-Pyronaridine ร่วมกับ Primaquine
การบริหารยา:
รับประทานยา 3 วัน และ Primaquine 1วัน
โรคไข้มาลาเรียชนิดไวแวกซ์หรือ โอวาเล่
ยาที่ใช้รักษา:
Chloroquine ร่วมกับ Primaquine
การบริหารยา:
Chloroquine ร่วมกับ Primaquine 14วัน
โรคไข้มาลาเรียชนิดมาลาริอีและโนเลไซ
ยาที่ใช้รักษา:
Chloroquine
การบริหารยา
: รับประทายา 3วัน
โรคไข้มาลาเรียชนิดผสม
โรคไข้มาลาเรียชนิดฟัลซิปารัมร่วมกับไวแวกซ์หรือโอวาเล่
ยาที่ใช้รักษา:
Dihydroartenmisnin-Piperaquine ร่วมกับ Primaquine
รับประทานวันละครั้ง 3วัน(วันที่ 0-2) และยาPrimaquine 14 วัน
โรคไข้มาลาเรียชนิดฟัลซิปารัมร่วมกับมาลาริอี
ยาที่ใช้รักษา:
Dihydroartenmisnin-Piperaquine ร่วมกับ Primaquine รับประทายาเข่นเดียวกับชนิด ฟัลซิปารัม
Typhus
อาการ
ไข้สูง ปวดศีรษะ (ขมับ หน้าผาก) หนาวสั่นผื่นแดงตามตัวเบื่อ อาหารคลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว ต่อมน้ำเหลืองโต ไอแห้งๆ
Eschar
มีรอยการถูกแมลงกัดที่ผิวหนังเป็นแผลขอบยกสีแดงมีสะเก็ดสีดำตรงกลาง
Physical examination
ผื่นแดงตามตัว (maculopapular rash >> body, arms, legs) and subside within 2-3 day
ตาแดง ไม่สู้แสง (conjunctival injection)
Hepatospleenomegaly after fever 4-5 day
อาการรุนแรงอาจมีอาการ - ซึม สับสน ความรู้สึกตัว เปลี่ยนแปลง
การวินิจฉัย
การรักษา
Doxycycline 100 mg BID x 7 day, OR
Tetracycline 500 mg BID x 7 days, OR
Chloramphenicol (50-75 mg/kg/day) x 7 day, OR
Ciprofloxacin และOfloxacin
Fever subside within 24-36 hr after ATB treatment
ต้องรักษาแบบประคับประคองภาวะแทรกซ้อนอื่นๆที่อาจพบได้เช่น BP ต่ำ เกล็ดเลือดต่ำ โปรตีนอัลบูมนิต่ำ ธาตุโซเดียมต่ำในกระแสเลอืด
Leptospirosis
อาการ
อาการไม่รุนแรง
มีไข้ ปวดเมื่อยตาตัว ปวดศีรษะ
อาการรุนแรง หรือ Wei'syndrome
มีไข้ตัว/ตาเหลือง ไตวายเฉียบพลัน เลือดออกผิดปกติ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ หัวใจเต้นผิดปกติ
อาการเชื้อหุ้มสมองอักเสบ
เนื้อสมองอักเสบ
การวินิจฉัย
การรักษา
Herpes simplex
อาการ
กลุ่มของตุ่มน้ำ , แตกเป็นแผลตื้นๆ
เจ็บ ปวด แสบร้อน
แผลจะค่อยๆแห้งตกสะเก็ด
และหายในระยะประมาณ 2-6สัปดาห์
Primary Lesions
Vesicle
ตุ่มน้ำใสของผิวหนังหรือเยื่อบุขนาดไม่เกิน1ซม.
Bulla
ตุ่มน้ำใสของผิวหนังหรือเยื่อบุขนาดใหญ่เกิน1ซม.
Pustule
vesicleหรือ bullaท่ีภายในบรรจุด้วยหนอง
การรักษา
ส่วนใหญ่ไม่รุนแรง+หายเองได้,ควรพักผ่อน+ดื่มน้ำมากๆ
มีไข้ เช็ดตัวลดไข้+กินยาparacetamol
มีแผลในปาก>>ใช้น้ําเกลือกลั้วปาก
ยาต้านไวรัส acyclovir
กินยาภายใน48ชั่วโมงหลังมีอาการนํา
ยามีผลข้างเคียงต่อไต
ถ้าเริมเป็นซ้ำบ่อย>6ครั้งต่อปีหรือ เริมที่เป็นซ้ำอาการรุนแรง ควรปรึกษาแพทยเ์พื่อพิจารณาการ กินยาต้านไวรัสป้องกันกลับมาเป็นซ้ำ
Migraine,TH
อาการ
Promonitory symptom and sign
ปวดศีรษะเป็นๆหายๆปวดแต่ละครั้งไม่เกิน 72ชม. มักนำมาก่อนประมาณ3ชั่วโมงก่อนการปวดศีรษะ
อารมณ์หงุดหงิดเก็บตัว ทำอะไรว่องไว หาวบ่อยง่วงนอนมาก ทนต่อแสงเสียงไม่ได้
นอนมาก เหนื่อยง่าย กล้ามเน้ือคออาจตึง อยากอาหาร โดยเฉพาะของที่มีรสหวาน
Postdromes
อาการที่สำคัญ คืออ่อนเพลีย
อ่อนแรงของกลา้มเน้ือและปวดกล้ามเน้ือ
อ่อนแรงของกล้ามเน้ือและปวดกล้ามเน้ือ
อาการจะเป็นอยู่นาน 1 ชั่วโมง ถึง 4 วัน (เฉลี่ย 2 วัน)
Headache
มักเริ่มเป็นช้าๆในเวลา30-60นาทีก่อนที่ปวดศีรษะจะมากสุด
อาการปวดในตาแหน่งต่างๆจะย้ายที่ได้และย้ายข้างได้
อาการปวดเหล่าน้ีจะเป็นมากเมื่อมีการเคลื่อนไหวศีรษะ
Aura
เกิดทางระบบประสาทที่เกิดก่อนอาการปวดศีรษะประมาณ30นาที
เห็นภาพมัว ภาพที่เห็นอาจเป็นขอบหยักๆ อาจมีสีขาว เห็นเป็นภาพแค่ครึ่งซีก
อาการ aura จะลามอยู่ 5.-60 นาทีส่วนมาก20-30นาที
การรักษา
สังเกตการดำเนินโรค ใช้ยาใน Acute attack ได้อย่างเหมาะสม
Analgesic:
Paracetamol, NSAIDs(naproxen), Mixed
analgesic preparation
Ergot based drug:
มีผลข้างเคียงพอสมควร ในการรักษา acute attack ที่รุนแรง และ นานๆเป็นสักครั้ง
Amitryptyline 25-50 mg hs หรือแค่ 10 mg hs
ยาป้องกันทางเลือกอื่น ในกรณี ยา 2 ขนาน ไม่ได้ผล
Propranolol เริ่ม 20-40 mg/day, Max 240 mg/day
Antiserotonergics
Pizotifen(0.5)4.5-9mg/day, Methylsergide
Tension type Headache
พบบ่อยที่สุด
ปวดชนิด บีบ กดหรือรัดแน่น
มักเริ่มปวด บริเวณท้ายทอย ร้าวมาที่ขมับทั้ง 2ข้าบแล้วปวดทั้งศีรษะ
อาการปวดบ่อยกว่า15 วัน ต่อเดือน เป็นเวลา6 เดือน หรือ นานกว่า
การรักษา
ไม่เรื้อรัง
ให้ยาแก้ปวดธรรมดา
เรื้อรัง
ควรนึกถึงโรค ซึมเศร้า Amitryptylline 10-25 mg hs
Common Skin Diseases
เกลื้อน(Tineaversicolor)
โรคเชื้อราของผิวหนังชั้นต้น เกิดจากเชื้อรา Malassezia furfur พบได้ตามผิวหนังที่มีต่อมไขมันมาก เช่น หน้า ต้นคอ หน้าอก หลัง
เป็นวงเล็กๆขนาดตั้งแต่1มิลลิเมตร รอบรูขมุขนจนรวมกันเป็นปื้นใหญ่
อาจมีสีซีดจาง
กว่าผิวหนังปกติ (hypopigmentation)มีสีเข้มกว่าสีผิวหนัง (hyperpigmentation)
การรักษา
Selenium sulfide
ทิ้งไว้ประมาณ 15-30 นาทีแล้วล้างออก โดยให้ใช้เป็นเวลา1สัปดาห์
ป้องกันการเกิดโรคซ้ำให้ใช้ยาเดือนละ 1 คร้ังหรือใช้ zinc pyrithione Ketolytic agent เช่น Whitfield’s ointment,
Mild fungicide
เช่น sodium thiosulfate 20-30%
ยารับประทาน
Ketoconazole
บริเวณกว้างการรักษาให้ขนาด200มิลลิกรัม
ต่อวัน เป็นเวลานาน10-14วัน
การป้องกันการเกิดโรคซ้ำ ให้ขนาด 200 มิลลิกรัมเป็นเวลา 3วัน ตัดกันเดือนละ 1ครั้ง หรือ 400 มิลลิกรัม เดือนละ 1ครั้ง
Itraconazole
ให้ขนาด200 มิลลิกรัม/วัน เป็นเวลา 7วัน
ป้องกันการเกิดโรคซ้ำให้ใช้ยาขนาด 400 มก.เดือนละ 1 คร้ังหรือ
ข้อแตกต่างของ กลาก T.coporis กับเกลื้อน T.vesicolor
ลักษณะเป็นผื่นสีแดงมีขอบเขตชัดเจน
รูปร่างเป็นวงกลมหรือวงแหวน
ขอบภายนอกมักมีสีเข้มกว่าผวิหนังด้านใน
ถ้าลุกลาม
เห็นผื่นรูปวงแหวนมีขอบเขตชัดเจนยิ่งข้ึน
กลาก(Tinea capitis)
การรักษา
griseofulvin ขนาด15-20mg/kg/dรายที่ไม่ไดผ้ลอาจต้องเพิ่มขนาดเป็นถึง30mg/kg/dต้องให้นาน6-8สัปดาห์
ใช้แชมพูช่วยฆ่าสปอร์ของเชื้อควบคู่ไปด้วยเช่น 2.5% selenium sulfide (Selsun) shampoo
โรคกลากพบได้ตามอวัยวะของร่างกาย
Tinea coporis โรคกลากที่ตัว
Tinea cruris พบบ่อยในผู้ชาย บริเวณขาหนีบ
Tinea pedis (โรคกลากที่เท้า)
Tinea manum (โรคกลากที่มือ)
Tinea unguium (โรคเชื้อกลากที่เล็บ )
โรคไข้ฝีดาษลิง(Monkeypox)
อาการ
ปกติจะหายได้เอง ระยะเวลาอาการประมาณ 2-4สัปดาห์
ลักษณะผื่น/ตุ่มหนองของโรคฝีดาษวานร
การดูแลรักษา
Suspected case
รับไว้ในห้องแยกเดี่ยว จนกว่าจะทราบผล
confirmed case
ให้รักษาตามอาการ ทำความสะอาดแผล รวมทั้ง ภาวะจิตใจ
การรักษาแบบจำเพาะ Specific Treatment
ยังไม่มียาต้านไวรัส ระยะเวลากักตัว 14-21(วันจนกว่าสะเก็ดแผลแห้ง)
คำแนะนำการป้องกัน
สวมหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆด้วยน้ำสบู่
หลีกเลี่ยงการสัมผัสตุ่มหนองโดยตรงจากผู้ป่วย
หลีกเลี่ยงการสัมผัสสารคัดหลั่งจากร่างกาย
รับประทานเนื้อสัตว์ปรุงสุกสะอาด