Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ใน การวัดและประเมินผล การศึกษา -…
บทที่ 3 วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ใน การวัดและประเมินผล
การศึกษา
คุณลักษณะของวิธีการและเครื่องมือ
ที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการศึกษาที่ดี
มีความท้าทาย ยั่วยุหรือน่าสนใจ
การสร้างเครื่องมือที่มีรูปแบบเป็นมาตรฐานที่ใน
การจัดพิมพ์หรือการจัดรูปเล่ม
คุณลักษณะที่ทำให้การวัดและประเมินมีความท้าทาย ยั่วหรือน่าสนใจ
จำเพาะเจาะจง
คุณลักษณะของวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในวัดและประเมินผลการศึกษาได้ใช้ข้อคำถามที่ชัดเจน
มีความลุ่มลึก
คุณลักษณะที่เน้นประเด็นในการวัดและ
ประเมินที่มีความลุ่มลึกในเนื้อหาสาระ
ความเข้าใจจนถึงการประเมินค่าเเละการสังเกตที่ใช้แบบสอบถาม
มีลักษณะความเป็นปรนัย
ตรวจได้คะแนนตรงกัน
แปลความหมายคะแนนได้ชัดเจนหรือตรวจสอบได้
เข้าใจในคำถามตรงกัน
ความเชื่อมั่นหรือความเที่ยง
คุณลักษณะที่ให้ผลของการวัด
และประเมินคงที่
การสอบซ้า , การใช้เเบบทดสอบคู่ขนาน , การแบ่งครึ่งข้อบ
มีความยากง่าย
คุณลักษณะของวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการศึกษาด้านพุทธิพิสัย
มีความยุติธรรม
คุณลักษณะที่สามารถวัดและประเมินโดยไม่เปิดโอกาสให้กับกลุ่มผู้เรียนกลุ่มใด
วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการศึกษาที่ได้เลือกใช้วิธีการสัมภาษณ์
มีอำนาจจำแนก
ความคิดเห็น
ทักษะในการปฏิบัติงาน
ระดับความรู้
ความเที่ยงตรงหรือความตรง
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง
ความเที่ยงตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์
มีประสิทธิภาพ
ผลที่ได้จากการวัดและประเมินผลการศึกษาเเละมีความเที่ยงตรง เชื่อถือได้มากที่สุด โดยใช้เวลา แรงงาน และงบประมาณน้อยที่สุด
วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการศึกษา
การสัมภาษณ์ : แบบสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์จะมี 3 ขั้นตอน
ขั้นปิดการสัมภาษณ์ ได้เเก่ จบการสัมภาษณ์ และกล่าวขอบคุณ
ข้ันสัมภาษณ์ ได้แก่ การใช้คำถามทั่วๆไป
ข้ันนำ ได้แก่ การทักทาย, การแจ้งให้ทราบถึงความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์ เป็นการพูดคุยหรือการสนทนาโต้ตอบระหว่างบุคคล 2 ประเภท
ผู้สัมภาษณ์
ผู้ให้(ถูก) สัมภาษณ์
การให้ปฏิบัติจริง : แบบประเมินการปฏิบัติงาน
การให้ปฏิบัติจริง หมายถึง การกำหนดงานให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติแล้วจึงพิจารณาคุณค่าของงานนั้น
วิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการศึกษาด้านทักษะพิสัย โดยทั่วไปจะใช้กับรายวิชาที่เน้นการปฏิบัติซึ่งเป็นกำหนดงาน แนวทางในการปฏิบัติงานระยะเวลาและหลักเกณฑ์ต่างๆ ที่จะพิจารณาให้คะแนน
การสังเกต : แบบบันทึกย่อย,การสังเกต,เเบบสอบถาม,สังคมมิติ,สร้างจินตนาการ
การสังเกต เป็นการใช้ประสาทสัมผัส
การใช้ตาและหูในการมองดูและฟังบริบทหรือสภาพแวดล้อม
แบบบันทึกย่อยเป็นเเบบบันทึกเหตุการณ์หรือ
พฤติกรรมที่ปรากฎลงไป
แบบสำรวจ เป็นแบบรวบรวมข้อความหรือรายการต่างๆ
แบบสอบถาม เป็นแบบข้อความหรือคำถามรายการ
สังคมมิติ เป็นการศึกษาสภาพทางสังคมของบุคคลในกลุ่ม
การให้สร้างจินตภาพ เป็นการให้สร้าง
จินตนาการจากรูปภาพต่างๆ
การประเมินตามสภาพจริง : แฟ้มสะสมงาน
การประเมินตามสภาพจริงเป็นการวัดและประเมินผลการศึกษาที่ได้คำนึงถึงหลักฐานหรือร่องรอยที่แสดงถึงกระบวนการเรียนรู้และผลของการเรียนรู้ของผู้เรียนตามธรรมชาติของแต่ละรายวิชา
แฟ้มสะสมงาน
ส่วนหลักฐาน
การศึกษาและวิเคราะห์งาน
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
เกณฑ์ในการพิจารณาคุณภาพของงาน
แบบประเมินการปฏิบัติงาน
บันทึกความคิดเห็นหรือความรู้สึก
ส่วนสรุป
ผลการประเมินแฟ้มสะสมงาน
บันทึกความคิดเห็นหรือความรู้สึก
สรุปหลักฐาน
เกณฑ์การประเมินแฟ้มสะสมงาน
ส่วนนำ
ปก คำนำ สารบัญ ประวัติของผู้เรียน รายการจุดประสงค์การเรียนรู้ของรายวิชา แผนการศึกษาส่วนบุคคล รายการชิ้นงาน
การทดสอบ : แบบทดสอบ
กิจกรรมที่มีขั้นตอนหรือเป็น
กระบวนการซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการวัดผล
ประเภทเเบบทดสอบ
แบ่งตามกระบวนการสร้าง
แบ่งตามวิธีดำเนินการสอบ
แบ่งตามสิ่งที่จะวัด
แบ่งตามรูปแบบของคำถาม