Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาติดเชื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาติดเชื้อ
1.การพยาบาลเด็กป่วยโรคติดเชื้อ
ที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
คอตีบ (Diphtheria)
สาเหตุ
ได้รับเชื้อ Corynebacterium diphtheria เชื้อมีระยะฟักตัว 1–6 วัน
อาการ
มีอาการหวัด และไอ นำมาก่อน 2-3 วัน พบว่ามีแผ่นที่เยื่อบุในคอ และต่อมทอนซิล จะมีอาการไข้ เจ็บคอ ปวดเมื่อย ปวดศีรษะเนื่องจาก มีเยื่อมาคุมบริเวณจมูกและคอ ทำให้หายใจลำบาก หายใจเสียงดัง กลืนไม่ได้ อ่อนเพลีย
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ penicillin
การรักษาทั่วไป
การให้ DAT ผู้เป็นโรค สัมผัสเชื้อ
ไอกรน
( Pertussis, Whooping Cough)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Bordetellapertussis (B. Pertussis) การติดต่อน้ำมูก น้ำลาย เสมหะ การแพร่กระจายโดยการหายใจไอหรือจามรดกัน มีระยะฟักตวั 7-10 วัน ระยะติดต่ออยูใ่นช่วง 3 สัปดาห์แรกหลังการติดเชื้อ
อาการ
ระยะแรก หรือ catarrhalstage จะมีอาการคล้ายเป็นหวัด คือ มีไข้ต่ำๆน้ำมูกไหลคัดจมูกจามและไออาการไอจะรุนแรงมากขึ้นทีละน้อยจนเข้าสู่ระยะทที่สองระยะนี้จะนานประมาณ 1-2 สัปดาห์
ระยะที่สอง หรือ paroxysmal stage ผู้ป่วยจะมีอาการไออย่างรุนแรงติดต่อกันเป็นชุดจนอาเงียน เพื่อขับเสมหะเหนียวในทางเดินหายใจออกมา
ระยะที่สาม หรือ convalescent stage ระยะนี้ผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้นอาการไอจะค่อย ๆลดลงและหายไปใน 2 -3 สัปดาห์ แต่ผู้ป่วยบางราย อาจพบอาการไอรุนแรง เมื่อมีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจได้อีกนานหลายเดือน
การรักษา
1.รักษาตามอาการแบบประดับประคอง เช่น การให้ดื่มน้ำมาก ๆ เพื่อให้เสมหะใสและขับออกง่าย ให้อาการอ่อนย่อยง่ายน้อยฯแต่บ่อยครั้งเพื่อป้องกันการอาเจียน อาจให้ยาPhenobarbital เพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน
2.ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น อีริโธรมัยชิน แก่ผู้ป่วยและผู้ที่อยู่ใกล้ชิด โดยให้ในระยะแรกของโรคไม่เกิน 1 สัปดาห์ จะทำให้ให้อาการไอไม่รุนแรง และลดโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน
3.ในรายที่มีอาการแทรกซ้อน ให้การรักษาตามอาการ หรือการติดเชื้อที่เกิดขึ้น
โรคหัด
(RUBEOLA หรือ MEASLES)
สาหตุ
เกิดจากเชื้อ measles virusมเข้าสู่ร่างกาย ทางจมูก ปากและเยื่อบุตา รับเชื้อไวรัสโดยตรง จากอยู่ใกล้ ชิดผู้ป่วยได้ โดยได้รับ ทางการหายใจ หรือเข้าทาง ปากได้ ผู้ป่วยจะแพร่เชื้อ 2 วัน ก่อนปรากฎอาการหรือ 3-5 วันก่อนมีผื่นขึ้นจนถึง 4 วันหลังผื่นขึ้นในเด็กบางรายสามารถแพร์เชื้อได้นานตลอด ระยะของโรค ระยะฟักตัว 8-12 วัน และระยะเวลาตั้งแต่ได้รับเชื้อจนปรากฏผื่นนำน 14 วัน
อาการ
ระยะฟักตัว (incubation) 10-12 วัน
ระยะไข้ (prodomal period ) ไข้นำมาก่อนผื่นขึ้น 4 วัน ไข้มี 2 ชนิดคือ ไข้ต่อยๆ สูงขึ้นจนสูงสุด
ระยะผื่น (rash) ผื่นมีลักษณะเป็นผื่นแดงเป็นกลุ่ม เริ่มที่ใบหน้า ไปลำตัวขึ้นถึงมือและเท้าภายใน 72 ชั่วโมง ไข้ลงและ ผื่นจะหนาแน่นที่สุดที่หน้าและลำตัว
ระยะพักฟื้น (convalescence ) อาการดีขึ้นผื่นขึ้นถึงมือและเท้าไข้จะลดผื่นสีคล้ำขึ้น ตัวลาย อาการไอจะคงอยู่ต่ออีกประมาณ 1 สัปดาห์
การรักษา
รักษาตามอาการ ให้ยาลดไข้ ให้ยาแก้ไอ ถ้าหอบมากควรให้ความชื้น และออกชิเจน
โรคหัดเยอรมัน
(RUBELLA, GERMAN MEALSES
สาเหตุ
เชื้อไวรัส ได้แก่ rubella virus ไวรัสนี้ก่อโรดเฉพาะในคน
เท่านั้น ติดต่อได้ทางการหายใจเป็นสำคัญ ในผู้ป่วยจะพบเชื้อไวรัส ได้ในจมูก ลำคอ และเสมหะ ได้เป็นจำนวนมาก เชื้อนี้จะแพรไปสู่ผู้อื่น ได้โดยตรงทางการหายใจ และโดยอ้อม ช่วงระยะ2-3 วัน ก่อนมีผื่น ถึง 5- 7 วันหลังมีผื่น และบางคนสามารถแพร่เชื้อไวรัสทาง nasophsrynx และปัสสาวะได้เป็นปี
อาการ
ระยะฟักโรดประมาณ 14 -21 วัน (เฉลี่ย 16-18 วัน) ในเด็กอาการนำอันแรกคือ ผื่น แต่ในเด็กวัยรุ่น หรือผู้ใหญ่มักมีอาการไข้ต่ำๆ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย เบื่ออาหาร ตาแดง เจ็บคอ น้ำมูกไหล ไอ
ต่อมน้ำเหลืองโต
การรักษา
รักษาตามอาการ Corticosteroid แaะ platelet transfusion อาจจำเป็นในรายที่เกร็ดเลือดต่ำมากและมีจุดเลือดออกในหญิงมีครรภ์อ่อน ๆ ที่เป็นโรคหัดเยอรมันแนะนำให้ทำแท้ง (Therapeutic abortion)
คางทูม (MUMPS)
สาเหตุ
เป็นเชื้อไวรัสพวก paramyxo virus ติดต่อกันทางสัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย หรือทางอากาศ หรือสิ่งของที่มีเชื้อไวรัส ปนเปื้อนอยู่ และแม้กระทั่งทางปัสสาวะ ผู้ป่วยสามารถจะแพร่เชื้อไวรัสได้ตั้งแต่ 7 วัน ก่อนที่จะมีอาการปรากฎ ไปจนถึงวันที่ 9 หลังจากเริ่มเห็นต่อม Paratid บวมแต่โดยทั่วๆไป
การรักษา
การรักษาให้การรักษาตามอาการ เช่น ให้ยาแก้ปวดลดไข้
อาการ
ระยะฟักตัวประมาณ 18 วัน ต่อมน้ำลายอักเสบ มีไข้ เบื่ออาการ อ่อนเพลีย ใน24 ชั่วโมงจะมีอาการปวดบริเวณหน้าหู ปวดมากเวลาเคี้ยว ต่อมา Parotid เริ่มบวมและบวมเต็มที่ ภายใน 1-3 วันอาจดันใบหูขึ้นและกางออกทางด้านข้าง ต่อมจะบวมอยู่นาน 6- 10 วัน แต่ไข้จะลดก่อนต่อมยุบ ประมาณ 1-6 วัน อาการอื่นอาจจะมีอัณทะอักเสบในเด็กผู้ายหลังวัยรุ่นจะปวดมาก อยู่ 3-5 วันมีอาการบวมอยู่หลายอาทิตย์
โรคไข้สุกใส (CHICKENPOX)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อ Varicella -Zoster ซึ่งจัดเป็นกลุ่มไวรัส Herpes เป็นDNA ไวรัส ติดต่อได้รวดเรีวมาก พบมากในฤดูหนาวเมื่อเป็นแล้วมักไม่เป็นอีกติดต่อกันโดยสัมผัสโดยตรงกันกับผู้ป่วย ระยะติดต่อ เริ่มตั้งแต่ 1 วัน ก่อนผื่นขึ้นจนผื่นขึ้นไปแล้ว 6-7 วัน หรือจนกระทั่ง ตุ่มน้ำแห้งเป็นสะเก็ด ไม่พบเชื้อไวรัสในสะเก็ดที่แห้ง
อาการ
ไข้ ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย และเบื่ออาหาร 1-2 วันก่อนผื่นขึ้น ลักษณะผื่นจะเริ่มเป็น macule และเปลี่ยนเป็น papule และเปลี่ยนเป็น Nodule และ Vesicle และแห้งเป็นสะเก็ดอย่างรวดเร็วบางครั้งอาจใช้เวลาเพียง 6-8 ชั่วโมง ภายใน 24 ชั่วโมง น้ำภายในตุ่มใสจะขุ่น โตขึ้นและแตกง่าย แล้วกลายเป็นสะเก็ดโดยแตกหรือฝ่อหายไปสะเก็ดจะหลุดหายไปภายใน 5-20 วัน
การรักษา
รักษาตามอาการให้ยาลดไข้ ถ้าตันอาจให้ยาแก้ดันพวก Antihistamine หรือ Calamine lotion ทา ตัดเล็บให้สั้นเพื่อไม่ให้เกา ซึ่งจะทำให้เชื้อเข้าไปในแผลได้
โปลิโอ (POLIOMYELITIS)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัสโปลิโอ (poliovirus) ติดต่อโดยการกินหรือสูดเอาเชื้อเข้าไปในร่างกาย แล้วทำให้ประสาทไขสันหลังส่วนที่บังคับการทำงานของกล้ามเนื้อเสียไป ถ้าเป็นรุนแรงประสาทสมองจะเสียด้วย เชื้อไวรัสโปลิโอสามารถติดต่อจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งได้ง่ายมาก
อาการ
กระวนกระวาย หายใจลำบาก หายใจเร็ว รูจมูกบานขณะหายใจ ไอและจามนานๆไม่ได้ หายใจด้วยกล้ามเนื้อท้องมากกว่ากล้ามเนื้อส่งนอก กล้ามเนื้อที่ช่วยขยายซี่โดรงไม่ทำงาน ทำให้ซี่โดรงขยายได้น้อย ประสาทสมองที่ 9 และ 10 เสียไป
การรักษา
ไม่มีการรักษาเฉพาะ
non paralytic และ mild paralytic form อาจรักษาที่บ้านได้ ไม่ต้องให้ยาแก้อักเสบ
Abortive forms ให้ยาแก้ปวด เช่น paracetamal
paralytic form ควรให้อยู่โรงพยาบาล เมื่อผู้ป่วยหายเจ็บกล้ามเนื้อแล้ว ให้กายภาพบำบัด และนัดมาตรวจ เป็นระยะ
Bulbar poliomyelitis ต้องระวังเรื่องการหายใจ ถ้าจำเป็นต้องเจาะคอ ก็ควรจะเจาะดอ และใส่หลอดคอ เพื่อสะดวกในการดูแลผู้ป่วยต่อไป การให้น้ำเกลือและเกลือแร่จำเป็นอย่างยิ่งในระยะที่ผู้ป่วยไม่สามารถรับประทานอาหาร และน้ำได้
โรคบาดทะยัก (Tetanus)
สาเหตุ
โรคติดเชื้อที่เกิดจากพิษของเชื้อแบคทีเรีย Clostridium tetani (C. tetani) ทำให้เกิดการชักกระตุกและเกรีงของกล้ามเนื้อ บางรายเป็นรุนแรงจนทำให้กิดการขาดออกชีเจนตามมาซึ่งมีอันตรายมากโดยเฉพาะในเด็กทารก ปัจจุบันมีอุบัติการณ์ลดน้อยลงแต่ยังพบได้ประปราย เนื่องจากเด็กบางคนอาจได้รับวัดซีนไม่ครบ หรือมีการดูแลบาดแผลที่ไม่เหมาะสม
การรักษา
เมื่อผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับขาประเภท sedative ควรดูแลการให้ยา และสังเกตอาการข้างเคียงจากยาด้วย
ขณะทีผู้ป่วยมีอาการชักเกร็ง ต้องระมัดระวังไม่ให้ผู้ป่วยตกเตียง ระวังการกัดลิ้นโดยใช้ mouth gag ใส่ไว้ สังเกตการหายใจขณะชัก ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ สังเกตอาการ ลักษณะ ระยะเวลาในการชัก
การทำแผล ควรแยกเครื่องมือเครื่องใช้เฉพาะ
การพยาบาลเด็กป่วยโรคติดเชื้ออื่นๆ
หรือโรคอุบัติใหม่
โรคเอดส์ในเด็ก
(PEDIATRIC AIDS)
สาเหตุ
เชื้อ Human immuno deficiency virus : HIV ระยะฟักตัวหลังเชื้อเข้าสู่ร่างสามารถตรวจแอนติเจนได้ใน เวลา2-6สัปดาห์และตรวจพบแอนติบอดี้ได้หลังติดเชื้อ 3 สัปดาห์ ถึง 3 เดือน ร่างกายจะเกิดเป็นโรคประมาณ 2 ปี
การติดต่อ
ในเด็กเล็กส่วนใหญ่การติดต่อจากมารดาสู่ทารกจากการตั้งครรภ์ ก่อนคลอด ขณะคลอด หลังคลอด ในเด็กโต มีการติดต่อเหมือนผู้ใหญ่โอกาสเสี่ยงถ้ามารดามีเชื้อ HIV การพบ p 24 แอนติเจน CD 4 count ต่ำ การลดลงของ CD 4 / CD 8 ratio โรคที่มีการอักเสบของรกในมารดา อาจติดต่อผ่านทางน้ำนม
การดูแล
ยาต้านไวรัสเอสไอวี
AZT(Zidovudine)
ddl (Didanosine )
ddc ( Zalcitabine)
การรักษาเชื้อฉวยโอกาสหรือมะเร็ง
การดูแลอย่างอื่น เช่น ภาวะโภชนาการ
การป้องกันโรคอื่นที่พบร่วม
โรคมือเท้าปาก
(HAND FOOT MOUTH DISEAS)
สาเหตุ
สาเหตุมาจากการติดเชื้อไวรัสลำไส้ หรือ เอนเทอโรไวรัสหลายชนิด (Enterovirus) โรคนี้มีการติดต่อทางการสัมผัสกับเชื่อที่ปนเปื้อนออกมากับอุจจาระ และสิ่งคัดหลั่งของผู้ป่วยเช่น น้ำมูก น้ำลาย ตุ่มน้ำ เป็นต้น พบบ่อยในทารกและเด็กเล็ก คือ เด็กเล็กช่วงอายุต่ำกว่า 2- 5 ปี ปัจจัยหลักที่ โน้มนำให้เกิดการระบาดมาจากความแออัดระบบการถ่ายเท อากาศไม่ดี สุขอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขวิทยาส่วนบุคคลบกพร่อง ส่วนใหญ่มักเกิดตามสถานรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียนอนุบาล เป็นต้น
การรักษา
ไม่มียาด้านไวรัสชนิดนี้ โดยเฉพาะ จึงใช้การรักษาเพื่อ บรรเทาอาการต่างๆ เช่น การใช้ยาลดไข้, ยาแก้ปวด, ยาทาแก้ปวดในรายที่มีแผลที่ลิ้น และกระทุ้งแก้ม, ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูเด็กควรเช็ด ตัวผู้ป่วยเพื่อลดไข้เป็นระยะ
อาการ
ไข้ ตุ่ม หรือแผลแดงอักเสบบริเวณลิ้น เหงือก กระทุ้งแก้ม ฝ่ามือ นิ้วมือและฝ่าเท้า มักเกิดขึ้นบ่อยในช่วงที่มีอากาศเย็นทและชื้น ในเขตหนาวพบมากในช่วงฤดูร้อน และต้นฤดูใบไม้ร่วง
โรคไข้เลือดออก
(DENGUE HEMORRHAGICFEVER)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อ Dengue virus โดยมียุงลาย (Aedes acgypti) เป็นพาหะนำโรค
อาการ
ไข้สูงลอย 2-7 วัน
อาการเลือดออก หรือ TT- test +ve
ตับโต กดเจ็บ
Shock
การรักษา
ระยะไข้
เช็ดตัวลดไข้ ,ให้ Paracetamol เท่านั้น
ระยะวิกฤต
การให้สารน้ำ
ระยะฟื้นตัว
Off iv fluid
ระวัง bleeding ห้ามทำหัตถการรุนแรง เช่น ถอนฟื้น,ฉีดยา IM ควรรออย่างน้อย 2 สัปดาห์
ถ้าผู้ป่วยยังไม่อยากอาหาร ควรแนะนำให้กินน้ำผลไม้หรือผลไม้นิ่ม