Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดต่อในเด็ก - Coggle Diagram
โรคติดต่อในเด็ก
-
โรคไอกรน (PERTUSSIS, WHOOPING COUGH)
สาเหตุ โรคติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ ทำให้มีการอักเสบของเยื่อบุทางเดินหายใจและเกิดอาการไอ เกิดจากเชื้อแบคทีเรียBordetella pertussis (B. pertussis) เป็นเชื้อที่เพาะขึ้นใน Bordet Gengau media
อาการ
1) ระยะแรกเด็กจะเริ่มมีอาการ มีน้ำมูก และไอ เหมือนอาการเริ่มแรกของโรคหวัดธรรมดาอาจมีไข้ต่ำๆ ตาแดง น้ำตาไหล ระยะนี้เรียกว่า Catarrhal stage จะเป็นอยู่ประมาณ 1-2
3) ระยะ ฟื้นตัว (Convalescent stage) กินเวลา 2-3 สัปดาห์ อาการไอเป็นชุดๆ จะค่อยๆลดลงทั้งความรุนแรงของการไอและจำนวนครั้ง แต่จะยังมีอาการไอหลายสัปดาห์ระยะของโรคทั้งหมดถ้าไม่มีโรคแทรกซ้อนจะใช้เวลาประมาณ 6-10 สัปดาห์
2)Paroxysmal stage ระยะนี้มีอาการไอเป็นชุดๆ เมื่อเข้าสู่สัปดาห์ที่ 3 ไม่มีเสมหะจะเริ่มมีลักษณะของไอกรน คือ มี อาการไอถี่ๆ ครั้งตามด้วยการหายใจเข้าอย่างแรงจนเกิดเสียง วู๊ป (whoop) เป็นอยู่นาน 2-4 สัปดาห์ หรืออาจนานกว่านี้ได้
การรักษา ให้ยาปฎิชีวนะที่ได้ผลเฉพาะคือ erythromycin ในขนาด 50 มก./กก./วันเป็นระยะเวลา 14 วัน ในระยะนี้จะช่วยให้ความรุนแรงของโรคลดลงได้แต่ถ้าพบผู้ป่วยระยะที่มีการไอเป็นชุดๆแล้วการให้ยาจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงความรุนแรงของโรคได้แต่จะสามารถฆ่าเชื้อโรคที่อาจจะยังมีอยู่ให้หมดไปได้ในระยะ 3-4 วันเป็นการลดการแพร่กระจายของเชื้อได้
เด็กเอสแอลอี(SLE)
อาการ
- มีไข้เรื้อรังโดยไม่ทราบสาเหตุ และอ่อนเพลียมากผิดปกติเป็นเวลานาน
-
- มีผื่นขึ้นโดยเฉพาะที่หน้า และส่วนอื่น ๆของร่างกาย ซึ่งไม่ได้เกิดจากอาการแพ้ นอกจากนี้ยังมีอาการปวด บวมตามข้อ ตามตัว โดยเฉพาะตอนเช้าหลังตื่นนอน
-
การรักษา
-
NSAIDs เช่นไอบูโพรเฟน หรือนาโพรเซนใช้ในการคุมอาการปวดจาก ข้ออักเสบ โดยจะใช้ในช่วงสั้นๆและลด ขนาดยาเมื่ออาการข้ออักเสบดีขึ้น
ไฮดรอกซีคลอโรควินมีประโยชน์มากในการรักษา และควบคุมผื่นที่ไวต่อแสงแดด เช่นผื่น discoid หรือ ผื่นชนิดกึ่งเฉียบพลัน
-
ยากลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ เช่น เพรดนิโซน หรือ เพรดนิโซโลน ใช้เพื่อลดการอักเสบและกดการทำงานของระบบภูมิต้านทานเป็นยา
สาเหตุ
โรคแพ้ภูมิตัวเอง หรือ SLE (Systemic Lupus Erythematosus) คือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน โดยภูมิคุ้มกันของคน ๆ นั้นทำลายเนื้อเยื่อภายในร่างกายของตัวเองจนเกิดการอักเสบและสามารถทำให้เกิดความผิดปกติกับอวัยวะได้ทั่วร่างกาย
.คอตีบ (DIPHTHERIA)
อาการ หลังจากได้รับเชื้อ 2-5 วัน ซึ่งอาจเกิดอาการ เป็นแผลและมีเยื่อบุสีเทาเกิดขึ้นที่ในลำคอและบริเวณต่อมทอนซิล มีไข้สูงตั้งแต่ 38 องศาเซลเซียส ขึ้นไป หนาวสั่น รู้สึกเมื่อยล้า อ่อนเพลีย มีอาการปวดศีรษะ มีน้ำมูก มีอาการเจ็บคอ ไอ เสียงแหบ ต่อมน้ำเหลืองในคอบวม กลืนอาหารลำบาก หรือรู้สึกเจ็บเวลากลืน หอบ เหนื่อย หายใจลำบาก
สาเหตุ เชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคคอตีบ คือ Corynebacterium Diphtheriae โดยเชื้อตัวนี้มักพบว่ามีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนเชื้อขึ้นบริเวณเยื่อบุที่คอ
การรักษา
การใช้ยาต้านพิษ (Diphtheria Antitoxin) ใช้ยาต้านพิษเพื่อหยุดพิษที่ผลิตจากแบคทีเรียที่กำลังโจมตีร่างกาย เมื่อแพทย์คาดว่าคนไข้เป็นโรคคอตีบ แพทย์จะฉีดยาต้านพิษนี้เข้าทางหลอดเลือดดำหรือกล้ามเนื้อ
การใช้ยาปฏิชีวนะ โรคคอตีบสามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาปฏิชีวนะ เช่น เพนิซิลิน (Penicillin) เพื่อฆ่าและกำจัดเชื้อแบคทีเรียในร่างกาย
-
โรคหัดเยอรมัน (RUBELLA, GERMAN MEALSES )
สาเหตุ โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัส โดยคนส่วนใหญ่จะแสดงอาการเพียงเล็กน้อยหรือบางรายจะไม่แสดงอาการของโรคเลย โรคหัดเยอรมันยังสามารถส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่มีความรุนแรงต่อทารกในครรภ์
การรักษา วัคซีน MMR (หัด–คางทูม–หัดเยอรมัน) เป็นวัคซีนที่ให้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิผลในการป้องกันโรคหัดเยอรมัน แต่วัคซีนป้องกันโรคหัดเยอรมัน
อาการ ไข้ต่ำประมาณ 38.9 เซลเซียสหรือต่ำกว่านั้น ปวดศีรษะ น้ำมูกไหล ตาแดงและอักเสบ ต่อมน้ำเหลืองเกิดการโตขึ้น บริเวณที่ต่อมน้ำเหลืองโตจะมีลักษณะพื้นผิวที่นิ่ม และมักจะพบได้ที่บริเวณด้านหลังของกะโหลกศรีษะ หลังคอ หรือด้านหลังหู ผื่นสีชมพูจะเริ่มปรากฏที่ใบหน้าและจะเริ่มกระจายไปที่ลำตัว แขนและขา ตามลำดับ อาการปวดข้อ
-
-
-
โรคบาดทะยัก
สาเหตุ เกิดจากสารพิษที่พบในสปอร์ของแบคทีเรียที่เรียกว่า Clostridium tetani แบคทีเรียเหล่านี้สามารถพบได้ในดิน ฝุ่น และมูลสัตว์
อาการ หลังจากที่แบคทีเรียเข้าสู่ร่างกายผ่านทางบาดแผล โรคบาดทะยักจะเริ่มแสดงอาการตั้งแต่สองสามวันแรกและอาจกินระยะเวลาหลายสัปดาห์ ระยะฟักตัวของบาดทะยักจะใช้เวลาประมาณ 7 ถึง 10 วัน อาการทั่วไปของบาดทะยักมีดังนี้ ภาวะกรามติด กล้ามเนื้อคอแข็ง ปัญหาการกลืน กล้ามเนื้อท้องแข็ง การกระตุกของกล้ามเนื้อ เหงื่อออก ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็ว ผลตรวจห้องปฏิบัติการ
-
ไข้ไขสันหลังอักเสบ
การรักษา ถ้าเกิดจากการติดเชื้อไวรัสต้องให้ยาต้านไวรัส แต่ถ้าเกิดจากภูมิคุ้มกันผิดปกติในระยะฉับพลันจำเป็นต้องให้ยาสเตียรอยด์
อาการ ขาทั้ง 2 ข้างอ่อนแรง บางรายอาจลุกลามขึ้นไปที่แขนทั้ง 2 ข้างอ่อนแรง มีอาการชา (ตรวจพบอาการชาเป็นระดับ level ที่ชัดเจน ) มีอาการปวดหลังแบบฉับพลันนำมาก่อนได้ มีอาการผิดปกติของระบบขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะไม่ออก ขับถ่ายอุจจาระไม่ได้ พบอาการเกร็งของกล้ามเนื้อคล้ายเป็นตะคริวได้ อาการเหล่านี้มักเป็นรุนแรงมากขึ้นภายในไม่กี่ชั่วโมงถึงหลายวัน ผู้ป่วยบางรายอาจมีไข้ เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ ปวดคอ ร่วมด้วย
สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อไวรัส เช่น เริม อีสุกอีใส งูสวัดหัดเยอรมัน เอนเทอโรไวรัส การติดเชื้อแบคทีเรีย เช่น วัณโรค ซิฟิลิส ไมโคพลาสมา หรือ เกิดจากภูมิคุ้มกันที่ผิดปกติเข้าไปทำลายไขสันหลัง
-
-
-