Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Gastrointestinal bleeding Upper Gastrointestinal Bleeding - Coggle…
Gastrointestinal bleeding
Upper Gastrointestinal Bleeding
Upper Gastrointestinal Bleeding
ภาวะเลือดออกทางเดินอาหารส่วนบน นับตั้งแต่ปากจนถึง ligament of Treitz
UGIB พบมากกว่า LGIB 4 เท่า
พบในชายมากกว่าหญิง
เมื่อไหร่ที่มารพ.ด้วย LGIB อย่าลืมคิดถึง UGIB ด้วยเสมอ
เราแบ่งUGIB หลักๆ เป็น variceal UGIB และ non variceal UGIB
ประวัติที่ควรถาม
1.อาการที่มา
เลือดที่ออกมา เลือดสด, สี , ปริมาณ เวลา
2.ช่องทาง อาเจียน ไอ หรือ ถ่าย
3.อาการร่วม ไข้ ตัวตาเหลือง คัน บวม ปัสสาวะไม่ออก อาการเจ็บหน้าอก
4.โรคประจำตัว หัวใจ/ตับ/ไต
5.ยาที่ใช้ก่อนหน้า
6.ปัจจัยกระตุ้น
7.ปัสสาวะครั้งสุดท้าย สีเข้มไหม
8.กินข้าวกินน้ำครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่ (เพื่อผ่าตัดด่วน)
การสรุปหลักการการดูแลเบื้องต้น
1.การประเมินเบื้องต้น (Initial Assessment)
2.การแก้ไขภาวะวิกฤติเบื้องต้น(Initial Resuscitation)
3.การดูแลภาวะวิกฤติ, เฝ้าระวัง และ หาตำแหน่งของเลือดออก (Critical care, monitoring, and identification source of bleeding)
4.การให้การวินิจฉัยและรักษาเฉพาะเจาะจง(Definite diagnosis and management)
Trick แนวทางปฏิบัติประเมินผู้ป่วยเบื้องต้น
Question ?
1.เป็น gastrointestinal bleeding จริงหรือไม่
2.เป็น upper หรือ Lower ?
3.Variceal or non variceal cause ?
4.Vital sign stable ?
5.Active Bleeding ?
6.Co-morbid disease ?
7.Past history medication ?
ในปัจจุบันการเติมเลือดกระทำสอดคล้อง
กับแนวปฏิบัติ restrictive transfusion โดยจะเติมเลือดในกรณีที่ระดับhemoglobin < 7 g/dl เท่านั้น (Hct < 24 %)
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ควรทำทันทีที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในภาวะฉุกเฉิน
CBC,plt
Blood sugar, BUN, Cr, electrolyte
PT, PTT, bleeding time
Liver function test
EKG
Chest x-ray
การแก้ Coagulopathy
PTT prolong > 1.5 times
Platelet < 50,000/ mm3
ให้ FFP เมื่อให้ PRC > 6 unit
ให้ Platelet เมื่อให้ PRC > 10 unit
Medication treatment
Non variceal
High dose omeprazole 40 mg iv ทุก 12 ชม 3-5 วันหรือ 80 mg iv. Push and Drip Proton pump inhibitor 8 mg/hr. (keep PH <6.0)
Variceal
ให้ Somatostatin or Somatostatin analoque( Octreotide)50 microgram/ hr ให้ 3-5 วัน
ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดสำหรับผู้ป่วย Gastrointestinal hemorrhage
Hemodynamic instabitiy ถึงแม้จะได้รับการ resuscitation แล้ว ( ได้รับการเติมเลือดมากกว่า 6 unit)
ไม่สามารถหยุดเลือดออกได้ด้วยการส่องกล้อง
มีการเลือดออกช้ำหลังจากได้กระทำการรักษาด้วยการส่องกล้อง 2 ครั้งขึ้นไป
การเลือดออกช้ำที่พบร่วมกับภาวะช้อค
เลือดออกต่อเนื่องที่จำเป็นต้องเติมเลือดมากกว่า 3 unit ต่อวัน
ในประเด็นเรื่องการดูแลทางการพยาบาล
1.งดน้ำงดอาหาร
2.ให้ iV hydration
3.Monitoring เรื่องเฝ้าระวัง Hypovolemic shock และ rebleedingโดยประเมินจาก I/O, urine output, serial Hct , vital signร่วมกับระดับความรู้สึกตัว และสาย NG
กลุ่มเสี่ยงสูงที่ต้องดูแลใกล้ชิด
Adrenal insufficiency
ตับ ไต หัวใจ
คนไข้ที่มีปัญหา Coagulopathy
กลุ่มดื่มสุราหนัก อย่าลืมจัดการเฝ้าระวังเรื่องชักจากwithdrawal syndrome