Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการพยาบาลเด็กที่มีปัญหาติดเชื้อ, น.ส.เนาวรัตน์ น้อยพันธุ์ เลขที่ 39…
สรุปการพยาบาลเด็กที่มีปัญหาติดเชื้อ
โรคไข้สุกใส(Chickenpox)
พยาธิสภาพ
มีการเปลี่ยนแปลงที่ผิวหนัง เกิดที่ชั้นหนังกำพร้าชั้นกลางและชั้นลึก
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร 1-2 วันก่อนผื่นขึ้นลักษณะผื่นจะเริ่มเป็น maculeเปลี่ยนเป็น papule
เกิดจากเชื้อ Varicella-zoster
ภายใน 24 ชม.น้ำภายในตุ่มใสจะขุ่น โตขึ้นและแตกง่ายแล้วกลายเป็นสะเก็ดแตกหรือฝ่อหายไปสะเก็ดจะหลุดหายไปภายใน5-20 วัน
ภาวะแทรกซ้อน
ปอดบวม การติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำ สมองอักเสบ
การรักษา
ตามอาการให้ยาลดไข้ ถ้าคันให้ยาแก้คันพวก Antihistamine
โรคไอกรน(Pertussis)
อาการและอาการแสดงมี 3 ระยะ
catarrhal stage อาการคล้ายไข้หวัด
paroxysmal stage ไออย่างรุนแรงจนอาเจียน
convalescent stage อาการจะค่อยๆลดลงหายไปใน 2-3 วัน
เชื้อแบคทีเรีย Bordetella pertussis
การแพร่กระจาย : ระยะฟักตัว 7-10 วัน
ภาวะแทรกซ้อน : อาจมีอาการปอดแฟบหรือมีหูน้ำหนวก
ภาวะชักอาจเกิดจากไข้สูง
โรคติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจที่ทำให้มีอาการไออย่างรุนแรง
ไอ 3 เดือนหรือไอร้อยวัน
การรักษา: รักษาแบบประคับประคอง,ให้ยาปฎิชีวนะ อีริโทรมันซิน
โปลิโอ(Poliomyelitis)
Spinal poliomyelitis
มีไข้นำมาก่อนท้องเสีย เบื่ออาหารและเจ็บคอ 2-3 วัน
Bulbar poliomyelitis
ทำลายถึงส่วนก้านสมองร่วมกับอาการไขสันหลังอักเสบได้
ภาวะแทรกซ้อน
ระบบทางเดินอาหารจะมีถ่ายดำเนื่องจากเลือดออก
ระบบหัวใจและหลอดเลือดมีความดันสูง
การรักษา
ไม่มีการรักษาเฉพาะ
ให้การพยาบาลแบบ Sterile tenique
การป้องกัน
ให้ oral polio vacine กับเด็กเล็กทุกคนตั้งแต่อายุ 2 4 และ 6เดือน
โรคเอดส์ในเด็ก
สาเหตุ : เชื้อ Human immuno deficiency virus : HIV
การติดต่อ : จากมารดาสู่ทารก ขณะตั้งครรภ์ ก่อนคลอด ขณะคลอด หลังคลอด
การวินิจฉัย : อาการมีMajor signs อย่างน้อย 2 ข้อ Minor signs อย่างน้อย 2 ข้อ
Major signs : น้ำหนักลดเลี้ยงไม่โต มีไข้นานเกิน 1 เดือน อุจจาระร่วงเรื้อรัง ติดเชื้อในทางเดินหายส่วนล่างเรื้อรัง
Minor signs : ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไป ไอเรื้อรัง มีผื่นที่ผิวหนังทั่วตัว มารดาติดเชื้อ HIV
การดูแล : ยาต้านไวรัสHIV, การป้องกันโรคอื่นที่พบร่วม, ภาวะโภชนาการ
คอตีบ (Diphtheria)
สาเหตุ : ได้รับเชื้อ Corynebacterium diphtheria
เชื้อฟักตัว 1-6 วัน
อาการ : มีอาการหวัดและไอนำมาก่อน 2-3 วัน ไข้ เจ็บคอ ปวดเมื่อย ปวดศีรษะ หายใจลำบาก กลืนไม่ได้ อ่อนเพลีย
คอตีบบริเวณต่อมทอนซิล วันที่ 6-10 พบกล้ามเนื้อหัวใจ อักเสบ
ภาวะแทรกซ้อน : ทางเดินหายใจอุดกั้น กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ประสาทอักเสบ
การรักษา: ให้ยาปฎิชีวนะ penicillin
การรักษาทั่วไป
การให้ DAT ผู้เป็นโรค ผู้สัมผัสเชื้อ
โรคหัดเยอรมัน (German mealses)
ลักษณะเด่น คือ มีผื่นชนิด erythematous maculopapuar
สาเหตุเกิดจากเชื้อ rubella virus
ก่อโรคเฉพาะในคนเท่านั้น
ระยะฟักโรค 14-21 วัน
การติดต่อ ทางการหายใจเป็นสำคัญ
แพร่เชื้อได้มากสุดในช่วงระยะ 2-3 วัน ก่อนมีผื่น 5-7 วันหลังมีผื่น
ภาวะแทรกซ้อน
สมองอักเสบ
หัวใจอักเสบ
จ้ำเลือดเนื่องจากเกร็ดเลือดต่ำ
คางทูม
คางทูมเป็นการอักเสบของต่อมน้ำลาย parotid เกิดจาก RNA
ระยะฟักตัวประมาณ 18 วัน
เป็นเชื้อไวรัสพวก paramyxovirus ติดต่อกันทางสัมผัสโโยตรงกับผู้ป่วยหรือทางอากาศ
ไม่ควรรับประทานอาหารรสเปรี้ยว
โรคบาดทะยัก(Tetanus)
โรคติดเชื้อที่เกิดจากพิษของเชื้อแบคทีเรียทำให้เกิดการชักกระตุกและเกร็งของกล้ามเนื้อ
การพยาบาล
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกที่เงียบสงบ
หมั่นดูแลความสุขสบายของผู้ป่วย
การทำแผลควรแยกเครื่องมือเครื่องใช้เฉพาะ
โรคหัด(Rubeola)
เกิดจากเชื้อ measles virus ติดต่อทางเดินหายใจ พบในเด็ก1-4 ปี
ระยะฟักตัว 8-12 วัน
การแพร่เชื้อ : 2วันก่อนปรากฎอาการหรือ 3-5 วันก่อนมีผื่นขึ้นจนถึง 4 วัน
หน้า7 หลัง 7
อาการ 3 C :
Cough ไอ
Coryza น้ำมูกไหล
Conjunctivitis ตาแดง
วันที่ 2-3 คอแดงจัดพบ Koplik spot
รักษาตามอาการ ให้ยาลดไข้ ให้ยาแก้ไอ
ภาวะแทรกซ้อน
ช่องหูอักเสบ
ปอดอักเสบ
สมองอักเสบ
อุจจาระร่วง
โรคไข้เลือดออก
อาการและอาการแสดง
ไข้สูงลอย2-7 วัน อาการเลือดออก ตับโต กดเจ็บ shock
ควมรุนแรงของ DHF มี 4 Grade
ระยะฟักตัว 5-8 วัน
เกิดจากเชื้อ Dengue virusโดยมียุงลายเป็นพาหะ
มี 3 ระยะ
ระยะไข้
ระยะวิกฤต
ระยะฟื้นตัว
สัญญาณอันตราย
ไข้ลดแต่อาการเลวลง
ปวดท้องหรืออาเจียนมาก
มีอาการเลือดออกผิดปกติ
โรคมือเท้าปาก
สาเหตุมาจากการติดเชื้อไวรัสลำไส้หรือ Enterovirus
อาการ
ไข้ ตุ่ม หรือแผลแดงอักเสบบริเวณลิ้น เหงือก กระพุ้งแก้ม ฝ่ามือ นิ้วมือ
การติดต่อ
มีการติดต่อทางการสัมผัสกับเชื้อที่ปนเปื้อนออกมากับอุจจาระและสิ่งคัดหลั่ง
การรักษา
ไม่มียาต้านไวรัส การใช้ยาลดไข้ ยาแก้ปวด
การพยาบาล
ดูแลให้รับประทานอาหารอ่อน ๆ
หากพบว่ามีไข้สูง ซึม ไม่ยอมรับประทานอาหาร อาเจียน ให้รีบพาไปโรงพยาบาล
โรคไข้สมองอักเสบเจอี
เกิดจากเชื้อไวรัสเจอี Japanese encephalitis (E) พาหะนำโรค คือ ยุงรำคาญ
อาการ
ผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสเจอีมีเพียง 1% ที่มีอาการไว้ ผื่น ปวดหัว และปวดข้อ
ในช่วง 3-4 วันแรก (Prodromal Period) จะมีอาการเหมือนการติดเชื้อไวรัสทั่วไปได้แก่ มีใข้ ปวดหัว
การป้องกัน
ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
ดวัคซีนป้องกันโรคใช้สมองอักเสบเจอี ส่วนใหญ่มักจะได้รับวัคซีนตั้งแต่ยังเด็ก หลังจากได้รับคอร์สแรกแล้ว อาจต้องฉีดกระตุ้นทุก ๆ 4-5 ปี เพื่อให้ภูมิคุ้มกันอยู่ในระดับสูงพอที่จะป้องกันโรคได้
วัณโรค
เป็นโรคติดต่อทางการหายใจ เชื้อจะแพร่จากผู้ป่วยวัณโรคปอดไปสู่บุคคลอื่นทางละอองเสมหะขนาดเล็ก ซึ่งอาจจะเกิดจากการไอ จาม
อาการ
ไอติดต่อกันนาน 2 สัปดาห์
น้ำหนักลด เบื่ออาหาร
ไอหรือเสมหะมีเลือดปน
มีไข้เรื้อรัง มีไข้โดยไม่ทราบสาเหตุ
หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยวัณโรค หากตนเองมีภูมิต้านทานต่ำ
หลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด
สวมหน้ากากอนามัยเมื่อไปในสถานที่สาธารณะ
ฉีดวัคซีนป้องกันวัณโรค
น.ส.เนาวรัตน์ น้อยพันธุ์ เลขที่ 39 รหัสนักศึกษา 63126301039 ชั้นปีที่3