Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเย็บแผล, น.ส.สุทธิชา ยอดศรีคำ ชั้นปีที่ 4 เลขที่ 92
รหัสนักศึกษา…
การเย็บแผล
หลักการเย็บแผล
-
-
-
4.ตรวจดูแผลอีกครั้ง หากมีเนื้อตาย ขอบแผลกระรุ่งกระริ่งให้ใช้กรรไกรตัดเนื้อเล็มเศษเนื้อตายและตัดเล็มขอบแผลให้เรียบ(แผลที่ใบหน้าห้ามตัดเนื้อเยื่อ)
5.ทำการเย็บแผล
-
-
-
-
-
ปล่อย needle holderจากโคนเข็ม มาจับที่ปลายที่โผล่พ้นskin ออกมา แล้วหมุนเข็มตามโค้งของเข็มจนกระทั่งโคนเข็มหลุดจากผิวหนัง
-
-
ขั้นตอนการตัดไหม
-
-
มือที่ถนัดจับกรรไกรตัดไหม สอดกรรไกรด้านที่มีปลายแหลมเข้าไปโดยอ้ากรรไกรเพียงเล็กน้อยเท่านั้น กดผิวหนังด้านนอกชิดรูที่ด้ายผ่านเพื่อให้ด้ายส่วนที่จมอยู่โผล่ขึ้นมาให้กรรไกรขนานกับผิวหนังบริเวณแผลแล้วตัดส่วนที่ชิดกับผิวหนัง
-
-
ข้อห้าม
-
-
ห้ามใช้ Xylocaine with adrenaline โดยเด็ดขาด ถ้าใช้ต้องแพทย์สั่งและห้ามเด็ดขาดคือบริเวณนิ้วมือเท้า ใบหู อวัยวะเพศชาย nipple
-
ข้อปฏิบัติหลังเย็บแผล
1.ตรวจความเรียบร้อยของแผล ดูตำแหน่งที่มีเลือดออกผิดปกติ เพื่อป้องกันการเกิด Hematomaในภายหลัง ตรวจสอบได้โดยใช้สำลีNSS เช็ดคราบเลือดออกให้หมด แล้วสังเกตดูว่ามีเลือดออกอยู่หรือไม่
-
-
-
ระยะเวลาในการตัดไหม
-
-
-
ในกรณีที่ไม่แน่ใจว่าติดสนิทดีหรือยัง ให้ตัดไหมอันเว้นอันไปก่อน ถ้าแผลแห้งติดดีอาจพิจารณาตัดทั้งหมด แต่ถ้าไม่สนิทนัดตัดในวันถัดไป
-
-
-
-
-
การพยาบาลหลังเย็บแผล
นัดมาทำแผลในวันรุ่งขึ้น ถ้าแผลแห้งดี รอบแผลไม่บวมแดงอาจนัดวันเว้นวันจนกว่าจะครบตัดไหม ถ้าแผลมี discharge บวม แดง นัดมาทำแผลทุกวัน
คำแนะนำ
-
-
-
-
การสังเกตอาการผิดปกติที่ต้องมารพ.ทันที เช่น มีไข้ ปวดแผลมากกว่าปกติ แผลบวมแดง แสบร้อน มี dischargeซึมมาก
-
-
-