Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรับผิดกระทำละเมิดด้วยตนเอง - Coggle Diagram
ความรับผิดกระทำละเมิดด้วยตนเอง
11.1.1ความหมายของการกระทำ
(2)มีการกระทำ
ทำ คำว่าทำหรือ การกระทำหมายถึงการเคลื่อนไหวร่างกายหรือการไม่เคลื่อนไหวร่างกายโดยรู้สำนึก
การเคลื่อนไหวร่างกายหมายถึงการเคลื่อนไหวโดยรู้สึกนึกคิดยกตัวอย่างเช่นการที่ยกแก้วน้ำดื่มหรือทำกิจกรรมทั่วไปอยู่ภายใต้สำนึกส่วนไม่สำนึกคือการเคลื่อนไหวที่ร่างกายหรือสามัญสำนึกไม่มียกตัวอย่างเช่นคนละมือคนเป็นลมบ้าหมูผู้ที่ร่างกายกระตุกโดยไม่รู้ตัวผู้ถูกผลักถูกชนหรือถูกจับมือให้กระทำขนาดเผลอหรือผู้ที่ร่างกายเคลื่อนไหวเพราะแรงธรรมชาติเหล่านี้ถือว่าไม่มีการกระทำในทางกฎหมาย ม. 429
(3)การงดเว้นไม่กระทำ
กระทำการรวมถึงการงดเว้นหรือละเว้นไม่กระทำการอันนี้หน้าที่ที่ต้องกระทำ
-(ก)หน้าที่ตามกฎหมาย.เช่น สามีภรรยาอุปการะซึ่งกันและกัน ม.1461 บุตรอุปการะบิดามารดาม.1563 บิดามารดาอุปการะเลี้ยงดูบุตร(ม.1564)
(ข)หน้าที่ตามสัญญาเช่นสัญญาจ้างรักษาโรคสัญญาจ้างดูแลความปลอดภัยคนเล่นน้ำ
(ค)หน้าที่จาก คสพ.ทางข้อเท็จจริงระหว่างผู้งดเว้นกับผู้เสียหายหรือหน้าที่หาข้อเท็จจริง เช่น เเพทย์เลิกงานกลับบ้านมาช่วยผู้ป่วยอุบัติเหตุ ไม่ใช่หน้าที่ตามกฏมหาย หรือก็คือ ไม่เข้าข่าย งดเว้นเเละละเว้น เพราะได้ทำหน้า
(1)ผู้ใด
ผู้ใด หมายถึง บุคคลทุกคนหรือบุคคลที่มีการกระทำ ไมใช่สัตว์หรือว่าสิ่งของ ยกตัวอย่าง บุคคลธรรมดาเเละนิติบุคคล บุคลลธรรมดาได้เเก่ เด็กเล็ก ผู้เยาว์ จนถึง คนชรา คนพิการ คนวิกรจริต คนไร้ความสามารถ เป็นต้น ส่วนนิติบุคคลหมายถึง บุคคลที่เกิดจากกฏหมายตั้งขึ้น เช่น ห้างหุ้นส่วนจำกัด:บริษัทจำกัด:ตั้งขึ้นเพื่อการค้า มูลนิธิ สมาคม
11.1.2กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
(2)ประมาทเลินเล่อ
ไม่จงใจแต่ไม่ใช่คนระมัดระวังตามสมควรที่จะใช้ปอาญามาตรา 59 วรรค 4 กระทำโดยประมาทได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนาแต่กระทำโดยประมาทจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจะต้องมีความวิสัยและประพฤติการและผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้แต่หาได้ใช้เพียงพอไม่คอระมัดระวังตามสัญญาอาจมีหลายระดับเช่น
(ก)ระดับวิญญชน(ม.323,473, 553, 653 ว.2, 802)
(ข)ระดับรักษาทรัพย์เท่าทรัพย์ของตนเอง ม.(659) ว.1)
(ค)ระดับรักษาทรัพย์เท่าผู้มีวิชาชีพ(ม. 659 ว.3)
(3)กระทำต่อผู้อื่น
กระทำ โดยเคลื่อนไหวอิริยาบทโดยรู้สำนึกถึงการงดเว้นหรือละเว้นโดยมีหน้าที่ต้องการทำละเมิดต้องเป็นการทำต่อบุคคลอื่น “โดยผิดกฎหมาย” อาจผิดต่อกฎหมายอาญา กฎหมายแพ่ง รัฐธรรมนูญ ล่วงสิทธิผิดต่อบุคคลอื่น หรืออาจเป็นการฝ่าฝืนไม่ทำหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด รวมถึงผิดระเบียบต่างๆ ก็ถือว่าเป็นการผิดกฎหมาย แต่หากการกระทำนั้นไม่ผิดกฎหมายก็ไม่เป็นละเมิด เช่น กฎหมายให้อำนาจโดยตรง มีอำนาจตามสัญญาที่ให้กระทำได้ มีอำนาจตามคำพิพากษา หรือเกิดอำนาจจากความยินยอม
(4)การใช้สิทธิซึ่งมีเเต่จะก่อความเสียหาย.เเก่ผู้อื่น ม.421
การมีสิทธิ์และการใช้สิทธิ์การ
-ใช้สิทธิ์ อาจถือเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมายได้ ปกติ สิ่งต่างๆก่อตั้งขึ้นย่อมมีความมุ่งหมายบางอย่างโดยเฉพาะและสิทธิ์นั้นการมีสิทธิ์อาจสิ้นสภาพเป็นสิทธิ์ทันทีหากใช้สิทธิ์แตกต่างไปจากความมุ่งหมาย -ม.5 ในการซื้อสินค้าของตนก็ดีในการชำระหนี้ก็ดีบุคคลทุกคนจะต้องกระทำโดยสุจริตม
ม.421 การใช้สิทธิ์ซึ่งต้องจะให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่นนั้นท่านว่าเป็นการอันมิชอบด้วยกฎหมาย
-ฏ.1982/18 จล.เก็บสินค้าในตึกมีน้ำหนักเกิน พื้นคอนกรีตยุบ ทำให้ตึก จ.อยู่ใกล้ชิดทรุด เป็นการใช้สิทธิมีเเต่ก่อความเสียหาย
ฏ.46/2539 จล.ว่าจ้างรถบรรทุก 10 ล้อบรรทุกดินไปถมที่ดินโครงการหมู่บ้าน ทำให้ถนนพิพาทเสียหายเเม้ จำเลย.มีสิทธิใช้ถนนพิพาท เเต่ต้องไม่ใช้สิทธิซึ่งมีเเต่จะเกิดความเสียหาย.จม.421 จึงเป็นการทำละเมิดจ.
(1)จงใจ
จงใจ=รู้สำนึกถึงผลเสียหายที่เกิดจากการกระทำของตนคนละเรื่องกับการกระทำโดยรู้สำนึกในการเคลื่อนไหวคือรู้ว่าผลเสียหายจะเกิดแก่เขาเป็นจงใจแล้วเช่นยกแก้วขึ้นดื่มรู้สึกมีการเคลื่อนไหวยกแก้วราดหัวรู้ถึงผลเสียหายจากการกระทำที่ทำให้เสื้อผ้าเปียกการกระทำโดยผิดหลงครั้งชาติหรือเข้าใจโดยสุจริตไม่เป็นจงใจพ่อไม่รู้ถึงผลเสียหายอันจะเกิดแก่คนอื่น
11.1.5 ผลจากการกระทำของผู้ทำละเมิด
(1)ทฤษฎีเงื่อนไขหรือทฤษฎีความเท่ากันแห่งเหตุ
หากไม่มีการกระทำเช่นนั้นผมจะไม่เกิดขึ้นและไม่มีความเสียหายที่เกิดขึ้นย่อมเกิดจากการกระทำนั้นดังนั้นเหตุทุกเหตุมีน้ำหนักเท่ากันที่ก่อให้เกิดผลตัวอย่างนายแดงเตะท้องเบานายดำนายดำมีโรคประจำตัวซึ่งนายแดงไม่รู้นายดำตายนายแดงต้องรับผิดในความตายของนายดำตามทฤษฎีนี้
บรรดาเหตุทั้งหลายมีน้ำหนักไม่เท่ากันเฉพาะเหตุที่ตามปกติย่อมก่อให้เกิดผลเช่นนั้นเท่านั้นผู้กระทำต้องรับผิดจากตัวอย่างได้รับมีรูปประจำตัวซึ่งคนทั่วไปอาจมีและไม่มีจึงไม่ใช่เหตุที่ตามปกติจะเกิดขึ้นดังนั้นเหตุนายแดงจึงไม่ต้องรับผิดให้ผลคือความตายของนายดำรับผิดเพียงทำให้นายดำได้รับบาดเจ็บเท่านั้น
(2)ทฤษฎีมูลเหตุเหมาะสม
ทฤษฎีเงื่อนไขข้อดีตรงกับความจริงตามธรรมชาติข้อเสียผู้กระทำต้องรับผิดไม่มีขอบเขตทฤษฎีมูลเหตุเหมาะสมข้อดีผลที่เกิดมีความเสียหายกับการกระทำข้อเสียผู้กระทำรับผิดแตะแต่เฉพาะที่คาดเห็นได้แต่การกระทำโดยประมาทยุคบุคคลสมมติในฐานะเช่นนั้นควรจะรู้หรือระมัดระวังมาเทียบว่าได้ใช้ความระมัดระวังหรือไม่ซึ่งผู้กระทำโดยประมาทอาจจะรู้หรือไม่รู้ถึงผลที่จะเกิดก็ได้แต่ไม่ได้ใช้ความระมัดระวังเช่นขับรถด้วยความเร็วสูงผู้กระทำโดยประมาทรู้ว่าอาจเกิดความเสียหายหากรถชนหรือนายแดงโยนเก้าอี้จากชั้น 7 ก่อนโยนก็ดูแล้วว่ามีคนเดินแต่การขนเก้าอี้คนทั่วไปต้องใช้บันไดจึงไม่ได้ใช้ความระมัดระวังซึ่งไม่อาจรู้หรือคาดเห็นได้ว่าจะคนจะเดินมาดังนั้นการกระทำโดยประมาทจึงจะเอาความรู้หรือคาดเห็นมาใช้ไม่ได้และไม่อาจนำมาใช้กับการทฤษฎีเหตุเหมาะสมได้ด้วยเหตุนี้ผู้เขียนเข้าใจว่าครผ.เพื่อการละเมิดศาลไทยจึงไม่นำทฤษฎีมูลเหตุเหมาะสมเข้ามาใช้แต่จะปรับทฤษฎีเงื่อนไขโดยนำดุลพินิจตาม ม.438 442 223 มาใช้เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของทฤษฎีเงื่อนไขให้เกิดความยุติธรรมต่อไป
11.1.4 กระทำที่ก่อคสห.เเก่บุคคลอื่น
(2)ลักษณะของสิทธิ
สิทธิ์หมายถึงอำนาจหรือปย.ที่กม.คุ้มครองรับรองศิษย์จึงคุ้มครองทั้งวัตถุมีรูปร่างชีวิตร่างกายทรัพย์สินและวัตถุไม่มีรูปร่างชื่อเสียงก็ได้เช่นเข้าแถวเพื่อจองซื้อสินค้าเราย่อมมีปย.ที่จะได้โอกาสซื้อก่อนหรือเลือกซื้อสินค้าก่อนเลือกที่นั่งดูภาพยนตร์ก่อนเมื่อเกิดสิทธิย่อมเกิดหน้าที่ให้คนอื่นยอมให้ทำด้วย วิดิโอ โกง โดนัท
(3)ความเสียหายที่คำนวณเป็นเงินได้เเละไม่อาจเป็นคำนวณเป็นเงินได้
Ex1 ถูกทำร้ายร่างกาย ค่ารักษาพยาบาล(คำนวณเป็นเงินได้),ค่ารอยเเผลเป็น
Ex2 เอาก้อนหินปาหลังคาบ้าน ไม่เเตก ไม่ชำรุด ค่าเสียหาย.ไม่อาจคำนวณเป็นเงินได้
Ex3 นายเเดงด่าว่าหมิ่นประมาทยายดำ ค่าสห.ไม่อาจคำนวณเป็นเงินได้
-เเม้เป็นการละเมิดเเล้ว อาจเกิดความเสียหายหรือไม่ก็ได้เเละเมื่อเกิดความเสียหายหรือไม่อาจคำนวณเป็นเงินก็ได้ เช่นถูกกักขังเสียหายต่อเสรีภาพ,ชกต่อยกัน ขวางอิฐใส่หลังคาบ้าน กระเบื้องไม่เเตก,ลวนลามจับเเก้มนางสาว ข.
-เเต่ต้องเป็นค่าเสียหายที่เเน่นอน เช่นนายเเดงขับรถชนรถนายดำค่าซ้อม 20000
ที่เกิดในอนาคตอันเเน่นอนด้วย เช่นไม่ได้ใช้รถ 5 วันต้องเช้ารถวันล่ะ 1000
1 มีความเสียหาย.ต่อสิทธิ
(ก)ไม่เกิดความเสียหายแต่ละเมิดสิทธิ์ความเสียหายจะคำนวณเป็นเงินได้หรือไม่เป็นคนละกรณี ex1. นาย กใช้มือสะอาดตบหัวหน้า ขไม่มีอะไรเปรอะเปื้อนร่างกายนายข.
ex2.นายแดงเอาหินขว้างหลังบ้านนายดำแต่ไม่แตกไม่ต้องซ่อมแซมเปลี่ยนใหม่
(ข) ความเสียหายให้พิจารณาจากปกติชนที่คิดโดยชอบในสังคมเป็นมาตรฐาน
ex1นายเอกจับแขน นส.โท ป.อาญาถือว่าอนาจาร
ex2นายแดงเอาน้ำฉีดบ้านนายดำที่นายดำทำเลอะเทอะไม่ถือว่านายดำเสียหาย
(ค)ดังนั้นทำให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดีแก่ร่างกายก็ดีอนามัยก็ดีเสรีภาพก็ดีทรัพย์สินหมายถึงความเสียหายต่อสิทธินั่นเอง
11.1.3 กระทำโดยผิดกฏหมาย
(1)กระทำโดยมิชอบด้วยกฏหมาย ม.421
ความยินยอมไม่ทำให้เป็นละเมิดพรบข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมพศ.2541 ม.8 เเละ 9 ม.8 วรรค 1 องค์ประกอบ (ก)ข้อตกลงเพื่อยกเว้นหรือจำกัดครผ.เพื่อละเมิดหรือผิดสัญญา
(ข)ข้อตกลงที่ทำไว้=ล่วงหน้า(ก่อน/ขณะกระทำผิดให้ความยินยอมจะถอนเมื่อใดก็ได้)= (ค)เป็นความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย อนามัยของผู้อื่น
(ง)ผู้กระทำจงใจหรือประมาทเลินเล่อจะยกขึ้นเพื่อยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดไม่ได้ (โมฆะ)
-ม.วรรค2องค์ประกอบ
ข้อ(ก)ถึง(ง)เหมือนวรรค1 เเต่ข้อ(ค)เเต่เป็นความเสียหาย.อื่นเช่นเสียหายต่อทรัพย์=ใช้บังคับเท่าที่เป็นธรรมเเละพอสมควรเเก่กรณี(ไม่เป็นโมฆะ)Ex1ม.8วรรค1เเดงขอให้ดำยิงเพื่อทดลองคาถาอาคม=เป็นโมฆะ
Ex2 ม.8 วรรค2 เเดงตกลงกับเจ้าของหอพัก หากเเก้วในห้องเเตกจ่าย 500 บาท=นำข้อตกลงมาใช้ได้เท่าที่เป็นธรรมตามราคาเเก้วจริง
-ม.9 ต่างจาก ม.8 คือ
(ก)ม.9 อาจเกิดขึ้นถายหลังการกระทำ ซึ่งต่างจาก ม.8 ที่ต้องตกลงล่วงหน้า
(ข)ม.9 เป็นความเสียหาย.ทุกกรณีเช่น (ชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สิน) เเต่ม.8 ว.1 ชีวิต ร่างกาย อนามัย ส่วน ม.8 ว.2 กรณีอื่น เช่นทรัพย์สิน
Ex ม.9 เเดงขับรถชนดำพิการ ต่อมาดำเห็นใจจึงตกลงไม่เรียกค่าทดเเทน.(ข้อตกลงเกิดขึ้นภายหลัง)=นำข้อตกลงอ้างไม่ได้ ตามม.9
(2)การะทำฝ่าฝืนบทบังคับเเห่งกฏหมาย ม422
กรณีการฝ่าฝืนกฎหมายเพราะเหตุจำเป็นกรณีที่มีการกระทำที่ทำให้เกิดความเสียหายและการกระทำนั้นเป็นการกระทำที่เป็นลักษณะของการฝ่าฝืนกฏหมายการที่จะให้ผู้เสียหายต้องรับภาระพิสูจน์อาจเป็นภาระแก่ผู้เสียหายมากเกินควรกฎหมายจึงได้มีการผลักภาระการพิสูจน์ให้แก่ผู้ที่กระทำการฝ่าฝืนกฎหมายนั้นตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 422 ซึ่งบัญญัติไว้ว่ามาตรา 422 ถ้าความเสียหายเกิดแต่การฝ่าฝืนบทบังคับแห่งกฎหมายใดที่มีประสงค์เพื่อจะปกป้องผู้อื่นผู้ใดทำกรณีฝ่าฝืนเช่นนั้นท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้นั้นเป็นผู้ผิดโดยปกติฝ่ายที่ฟ้องว่าอีกฝ่ายทำละเมิดมีหน้าที่ต้องพิสูจน์ว่าอีกฝ่ายหนึ่งได้มีการกระทำผิดกฎหมายโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้ตนได้รับความเสียหายและผลที่สุดผู้ที่กฎหมายสันนิษฐานว่าผิดอาจไม่ต้องรับผิดก็ได้เช่นกฎหมายให้คนขับรถขับเรือต้องได้รับใบอนุญาตหรือประกาศแสดงความสามารถเสียก่อนเพราะมีความประสงค์จะป้องกันไม่ให้ผู้ขับรถขับเรือไม่สามารถขับไปชนใครก็จริงแต่ถ้าเกิดชนเพราะเหตุอื่นตัวอย่างเช่น ความผิดของผู้ได้รับความเสียหายเอง ผู้กระทำการฝ่าฝืนกฎหมายหาต้องรับผิดเสมอไปไม่ ได้แก่ขับรถโดยไม่มีใบอนุญาตแต่มีคนวิ่งตัดหน้าทำให้รถชน ผู้ขับไม่ต้องรับผิดและกรณีอื่นได้แก่ต้องเป็นการฝ่าฝืนกฎหมายไม่ใช่ระเบียบข้อบังคับการฝ่าฝืนโดยแล่นรถขวาของถนนเพื่อแซงขึ้นหน้าเป็นการเสี่ยงภัยของตนเองไม่ใช่เพื่อหลบหลีกให้พ้นอันตรายชนกันเพราะเเล่นผิดทางจึงต้องรับผิดเป็นต้น
ควาหมายของการกระทำโดยผิดกฏหมาย
(ข)กระทำโดยมิชอบด้วยกฏหมาย(ม.421)
จะทำในสิ่งที่กฎหมายห้ามคือกฎหมายห้ามไม่ให้ทำแต่ก็ฝ่าฝืนจะทำเช่นกฎหมายห้ามบุกรุกป่าแต่ก็บุกรุกหรือกระทำผิดกฎหมายคือกฎหมายกำหนดให้ทำแบบหนึ่งแต่เป็นอีกแบบหนึ่งเช่นกฎหมายให้รถวิ่งชิดซ้ายแต่ไปวิ่งรถชิดขวาหรือกระทำสิ่งที่กฎหมายไม่ได้ให้อำนาจกระทำได้คือส่วนใหญ่จะเป็นเจ้าหน้าที่รัฐกระทำในการที่ไม่มีอำนาจกระทำตามกฎหมายเช่นเป็นนักวิชาการประมง เเต่ดันไปพิพากษาคดีตัดสินเป็นต้น
ตัวอย่างเช่น กระทำเกินกว่าสิทธิที่มีอยู่เช่นนายแดงยืมรถนายดำโดยสิทธิ์ว่าจะบรรทุกแค่ 50 กก แต่นายแดงบรรทุกละ 70 กก (เกินกว่าข้อตกลงให้สิทธิ์)
(ก) กฏหมายบัญญัติโดยชัดเเจ้งว่าเป็นความผิด
เมื่อได้กระทำฝ่าฝืนกฎหมายย่อมเป็นการกระทำโดยผิดกฎหมายเช่นมาตรา 295 ผู้ใดทำร้ายผู้อื่นมาตรา 344 ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อื่น ตัวอย่าง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 440/2530
จำเลยเพียงแต่ใช้มือตบตี และใช้ไม้ไผ่ผ่าซีกขว้างผู้เสียหายโดยไม่ปรากฏว่าไม้ไผ่ดังกล่าวมีขนาดใหญ่เล็กเพียงใด บาดแผลที่ผู้เสียหายได้รับก็เป็นเพียงรอยถลอกไม่มีโลหิตไหล อีกแห่งหนึ่งเพียงแต่บวมเมื่อกดตรงที่บวมจึงเจ็บและจะรักษาหายได้ในเวลาประมาณ 5 วัน ซึ่งเป็นเพียงการคาดคะเนของแพทย์ความจริงอาจจะหายเป็นปกติภายในเวลาไม่ถึงกำหนดที่กะประมาณไว้ก็ได้ จำเลยคงมีความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นโดยไม่ถึงกับเป็นอันตรายแก่กายหรือจิตใจตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 391 เท่านั้น
(จากคำพิพากษานี้ศาลเห็นว่าจากพติการณ์แห่งการทำร้ายคือการใช้มือตบตีและใช้ไม้ไผ่ผ่าซีกขว้างผู้เสียหาย รวมถึงจากบาดแผลที่ผู้เสียหายได้รับนั้นยังไม่ถือว่าเป็นการทำร้ายจนเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจตาม ม. 295 จึงมความผิดตาม ม. 391)