Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาติดเชื้อ - Coggle Diagram
บทที่ 8
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาติดเชื้อ
โรคเอดส์ในเด็ก
สาเหตุ จากเชื้อ Human immuno deficiency virus : HIV ระยะฟักตัวหลังเชื้อเข้าสู่ร่างกายสามารถตรวจแอนติเจนได้ในเวลา2-6สัปดาห์ และตรวจพบแอนติบอดี้ได้หลังติดเชื้อ3สัปดาห์ถุง3เดือน ร่างกายเกิดเป็นโรคประมาณ2ปี
การติดต่อ ในเด็กเล็กส่วนใหญ่ การติดต่อจากมารดาสู่ทารกจากการตั้งครรภ์ ก่อนคลอด ขณะคลอด หลังคลอด ถ้ามารดามีเชื้อ HIV การพบ p 24 แอนติเจน CD 4 count ต่ำ การลดลงของ CD 4 / CD
8 ratio โรคที่มีการอักเสบของรกในมารดา อาจติดต่อ
ผ่านทางน้ำนม
อาการ มี MAJOR SIGNS อย่างน้อย 2 ข้อ
น้ำหนักลดเลี้ยงไม่โต
อุจจาระร่วงเรื้อรังมากกว่า 1 เดือน
มีไข้นานเกิน 1 เดือน
ติดเชื้อในทางเดินหายใจส่วนล่างอย่างเรื้อรัง
MINOR SIGNSอย่างน้อย 2 ข้อ
ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไป
Oro-pharygeal candidiasis
ไอเรื้อรัง
การดูแล ยาต้านไวรัสเอสไอวีมี 3 ชนิด คือ AZT(Zidovudine),
ddl (Didanosine ) และddc ( Zalcitabine)
ขนาดAZTแตกต่างตามอายุการรักษา
อายุ 0-2 สัปดาห์ ให้ 2 มก./กก./ครั้ง รับประทานทุก 6 ชม.
อายุ 2-4 สัปดาห์ ให้ 3 มก./กก./ครั้ง รับประทานทุก 6 ชม.
คอตีบ
สาเหตุ ได้รับเชื้อ Corynebacterium diphtheria เชื้อมีระยะฟักตัว 1-6 วัน
อาการ มีอาการหวัดและไอนำมาก่อน 2-3 วัน พบว่ามีแผ่นที่เยื่อบุในคอและต่อมทอนซิล
ภาวะแทรกซ้อน ทางเดินหายใจอุดกั้น กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ประสาทอักเสบ
โรคไอกรน
อาการไอติดต่อกันเป็นระยะเวลานานหลายเดือน ไอ 3 เดือน หรือ ไอร้อยวัน
การแพร่กระจาย โดยการหายใจ ไอ หรือจามรดกัน มีระยะฟักตัว 7-10 วัน ระยะติดต่ออยู่ในช่วง 3 สัปดาห์แรกหลังการติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง แยกได้เป็น 3 ระยะ ดังนี้
ระยะแรก catarrhal stage จะมีอาการคล้ายเป็นหวัด ระยะนี้จะนานประมาณ 1-2 สัปดาห์
ระยะที่สอง paroxysmal stage จะมีอาการไออย่างรุนแรง
ระยะสาม convalescent stage ระยะนี้ผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้น อาการไอจะค่อยๆลดลงและหายไปใน 2-3 สัปดาห์
โรคหัด
การแพร่เชื้อ ผู้ป่วยจะแพร่เชื้อ 2 วัน ก่อนปรากฏอาการหรือ 3-5 วันก่อนมีผื่นขึ้นจนถึง 4 วันหลังผื่นขึ้นในเด็กบางราย สามารถแพร่เชื้อได้นานตลอดระยะของโรค
โรคหัดมีระยะฟักตัว 8-12 วัน และระยะเวลาตั้งแต่ได้รับเชื้อจนปรากฏผื่นนาน 14 วัน ในกรณีของ Subacute sclerosing panencephalitis จะมีระยะฝีกตัวนานถึง 10 ปี
วันที่ผื่นออก หรือเริ่มไข้สูงต่อมาไข้เริ่มต่ำลง วันที่ 2-3 แต่กลับมีไข้สูงซ้ำวันที่ 1 ระยะนี้ มีอาการ 3C คือ Cough (ไอ) coryza (น้ำมูกไหล) และ conjunctivitis (ตาแดง) วนัที่ 2-3 คอแดงจัด และพบ Koplik spot ที่เยื่อบุกระพุ้งแก้มซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะ เริ่มพบที่บริเวณเยื่อบุตรงกับฟันกรามซี่ที่สองเป็นเม็กเล็กๆสีขาวขนาดหัวเข็มหมุด อยู่บนพื้นที่สีแดงจะหายไปหลังผื่นขึ้น 24 ชม.
โรคหัดเยอรมัน
เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส มีลักษณะเด่นคือมีผื่นชนิดerythematous maculopapuar มีต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไป
ระยะฟักโรคประมาณ 14-21 วัน(เฉลี่ย16-18วัน)ในเด็กอาการนำอันแรกคือ ผื่น แต่ในเด็กวัยรุ่น หรือผู้ใหญ่มักมีอาการไข้ต่ำๆ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อเบื่ออาหาร ตาแดง เจ็บคอ
โรคไข้สุกใส
พบบ่อยในวัยเรียน 2-8 ปี เกิดจากเชื้อVaricella –Zoster ซึ่งจัดเป็นกลุ่มไวรัส Herpes เป็นDNA ไวรัส ระยะติดต่อ เริ่มตั้งแต่ 1 วัน ก่อนผื่นขึ้นจนผื่นขึ้นไปแล้ว 6-7 วัน หรือจนกระทั่งตุ่มน้ำแห้งเป็นสะเก็ด ไม่พบเชื้อไว้รัสในสะเก็ดที่แห้ง
ลักษณะเฉพาะคือตุ่มที่อยู่ตื้นๆผนังบางแตกง่าย ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2-3 มม. ลักษณะคล้ายหยดน้ำค้าง มีฐานสีแดงล้อมรอบตุ่มใส
คางทูม
สาเหตุ เป็นเชื้อไวรัสพวกparamyxovirusติดต่อกันทางสัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย ผู้ป่วยสามารถจะแพร่เชื้อไวรัสได้ตั้งแต่ 7 วัน ก่อนที่จะมีอาการปรากฏไปจนถึงวันที่ 9 หลังจากเริ่มเห็นต่อม Paratidบวม
อาการ ระยะฟักตัวประมาณ 18 วัน ต่อมน้ำลายอักเสบ มีไข้ เบื่ออาหาร อ่อนเพลียใน24ชม.มีอาการปวดบริเวณหน้าหู ปวดมากเวลาเคี้ยว ต่อมาParotidเริ่มบวมเต็มที่ภายใน1-3วันอาจดันใบหูขึ้นและกางออกทางด้านข้าง ต่อมจะบวมอยู่นาน6-10วันแต่ไข้จะลดก่อนต่อมยุบคือประมาณ1-6วัน
โปลิโอ
Abortion poliomyelitis ชนิดนี้ได้เฉพาะในระหว่างที่มีการระบาดของโรคนี้เท่านั้น ผู้ป่วยจะมีอาการไข้ในระยะสั้นๆปวดเมื่อยตามตัว
Non paralytic Poliomyelitis อาการต่างๆคล้ายกับพวกabortive form แต่รุนแรงกว่ามีอาการปวดและตึงบริเวณกล้ามเนื้อ คอส่วนหลัง ลำตัวและขา
Paralytic poliomyelitis อาการและอาการแสดงเหมือนกับnon paralytic poliomyelitis บวกกับอาการอ่อนกำลังของแขนขาหรือประสาทสมอง
โรคบาดทะยัก
โรคติดเชื้อที่เกิดจากพิษของเชื้อแบคทีเรียทำให้เกิดการชักกระตุกและเกร็งของกล้ามเนื้อ
สาเหตุ เชื้อแบคทีเรียClostridium tetani (C. tetani)
โรคไข้เลือดออก
เกิดจากเชื้อDengue virusโดยมียุงลาย(Aedes aegypti)เป็นพาหะนำโรค
อาการและอาการแสดง
ไข้สูงลอย2-7วัน
อาการเลือดออกหรือTT- test +ve
ตับโต กดเจ็บ
shock
DHF grade I,IIต่างจาก DF ตรงที่มีการรั่วของ
พลาสมา
ระยะไข้ การดูแลรักษาระยะไข้ เช็ดตัว ให้Paracetamolเท่านั้น ห้ามให้Steroid,NSAID (โดยเฉพาะ ASA) การให้IV fluidให้เมื่อขาดน้ำเท่านั้น (ไม่เกิน M/2)
ข้อบ่งชี้ในการAdmit
อ่อนเพลียมาก กินไม่ได้หรืออาเจียนมาก
มีเลือดออก ปวดท้องมาก
Plt. <100,000 ,+ Hct. เพิ่ม10-20%จากเดิม
ไข้ลด แต่อาการแย่ลง
Shockหรือมีการเปลี่ยนแปลงของการรู้สติ
ยาติกังวลมาก บ้านไกล ไม่มีคนดูแลใกล้ชิด
ระยะวิกฤต/Leakage/Shock มีการรั่วของพลาสมา>20% พบในDHF ทุกราย อาการShock: ปวดท้องใต้ชายโครงขวา,มือเท้าเย็น, capillary refill >2 sec. ,PP<20 mmHg, BP<90/60 mmHg
ชนิดของIVที่ให้ในระยะวิกฤต ขณะShock ให้ 0.9% NSSหรือ RLS
Rate IV fluid ให้นาน 3 -4 ชั่วโมง ถ้าดีขึ้นลด rate ให้เท่ากับ maintenanceหรืออาจปรับRateขึ้นลงได้ตามอาการผู้ป่วย ถ้าดีควรเริ่มที่M + 5%Def. หรือ 2M โดยค านวนตามBW.
ระยะฟื้นตัว ระยะนี้ใช้เวลา2-3วันHigh Risk Patients ควรRefer หรือ Consult ทุก case
คำแนะนำก่อนกลับบ้าน
กินอาการอ่อนๆ
งดเล่นกีฬา
เพราะเกล็ดเลือดยังต่ำและทำงานไม่เป็นปกติ
ไข้ไขสันหลัง
การอักเสบของเนื้อเยื่อประสาทตรงระดับใดระดับหนึ่งของไขสันหลัง เป็นเหตุให้เกิดอาการอัมพาตของขาทั้ง2ข้างหรืออัมพาตหมดของแขนขาทั้ง4ข้าง
อาการเวียนศีรษะ เป็นไข้ คลื่นไส้ และอาเจียน
ติดเชื้อไวรัส เช่น เริม อีกสุกอีใส งูสวัดหัดเยอรมัน เอนเทอโรไว้รัส
ติดเชื้อแบคทีเรีย เช่น วัณโรค ซิฟิลิส ไมโคพลาสมา
โรคมือเท้าปาก
สาเหตุมาจากการติดเชื้อไวรัสลำไส้หรือเอนเทอโรไวรัสหลายชนิด(Enterovirus)
ติดต่อทางการสัมผัส ส่วนน้อยที่มีอาการรุนแรง มักเกิดจากเชื้ออีวี71มรอาการสมองอักเสบร่วมกับระบบหายใจและระบบไหลเวียนเลือดล้มเหลว เสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว เด็กที่มีอาการรุนแรงมักมีไข้สูง ซึม อ่อนแรง มือสั่น เดินเซ อาเจียนมาก หายใจหอบ และชัก หากพบอาการเหล่านี้ควรรีบพาพบแพทย์โดยด่วน
คำแนะนำในการป้องกันควบคุมโรค
ควรแยกเด็กออกจากเด็กอื่นๆเพื่อป้องกันไม่ห้แพร่เชื้อไปยังเด็กอื่นและหยุดรักษาตัวที่บ้านประมาณ1สัปดาห์