Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเเบบองค์รวมตามอาการทางจิตที่สำคัญ - Coggle Diagram
การพยาบาลเเบบองค์รวมตามอาการทางจิตที่สำคัญ
ความผิดปกติด้านความคิด
อาการหลงผิด(Delusion)
ความหมาย ความคิดหรือความเชื่อที่ผิดๆไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง เป็นความเชื่อที่ฝั่งเเน่นไม่สามารถลบล้างหรือเปลี่ยนความคิดนั้นเเม้ว่าจะมีหลักฐานหรือเหตุผล
เเนวคิดเกี่ยวกับอาการหลงผิด
เเนวคิดจิตวิเคราะห์ เกิดจากพัฒนาการด้านอารมณ์ล่าช้า ขาดการกระตุ้นหรือขาดความสนใจจากพ่อเเม่ กลไกการป้องกันใช้การโยนความผิด
เเนวคิดชีววิทยา เกี่ยวข้องกับการทำงานที่ผิดปกติของLimbic system and basal Ganglia ในสมอง
เเนวคิดด้านสังคม มักมีพ่อเเม่ที่เข้มงวด บังคับเเละสมบูรณ์เเบบมากเกินไป
สาเหตุของอาการหลงผิด
ทางด้านร่างกาย สูญเสียหน้าที่ของอวัยวะร่างกาย การคิดการรับรู้ บุคลลมีการรับรู้เปลี่ยนไป
ด้านจิตใจ กลไกทางจิตป้องกันตนเองเกินไป เกิดขึ้นภายในจิตใจที่มีความวิตกกังวลทไให้มีความคิดที่ผิดปกติไป พบในผู้ป่วยจิตเวช
ทางด้านสังคม การเลี้ยงดูไม่มีความสม่ำเสมอ มองโลกในเเง่ร้าย หวาดระเเวง
ลักษณะทางคลีนิก
การตัดสินใจเเละการหยั่งรู้ตนเอง ไม่มีความผิดปกติ
การควบคุมตนเอง หลงผิดทางด้านความคิด
สภาวะเเห่งตนเเละการตระหนักรู้ ไม่มีความผิดปกติของการรับรู้ วัน เวลา สถานที่
ความคิด อาการสำคัญคือความคิดผิดปกติ หลงผิดเป็นระบบ
การรับรู้ ไม่มีอาการประสาทหลอนเด่นชัด
อารมณ์ มักจะสอดคล้องกับเนื้อหาที่หลงผิด
กระบวนการวางแผนพยาบาล
การประเมินปัญหา ประเมินอาการเเสดงทางภาษากาย บ่งชี้ถึงความไว้วางใจของบุคบบอื่น
การประเมินผลการพยาบาล ผู้รับบริการสามารถเผชิญปัญหาได้เเละตระหนักถึงความเป็นจริงได้ รวมถึงการให้ความร่วมมือในการรักษา
ข้อวิจฉัยพยาบาล
การเเก้ปัญหาครบครัวไม่มีประสิทธิภาพ
มีความแปรปรวนด้านกระบวนการคิด การแปลความหมายไม่ถูกต้อง
ความภาคภูมืใจในตนเองแปรปรวน เนื่องจากอาการหลงผิดว่าตนเองยิ่งใหญ่
มีพฤติกรรมเเยกตัว จากการไม่ไว้วางใจผู้อื่น
รู้สึกไม่ปลอดภัยจากความคิดหลงผิดว่าถูกปองร้าย
การปฎิบัติพยาบาล สร้างสัมพันธภาพ พยาบาลจะต้องพึ่งพาได้เเละยอมรับอาการของผู้รับบริการ
อาการหวาดระเเวง(Paranoid)
ประเภทของอาการหวาดระเเวง
simple paranoid state เฉลียบพลันเเละเรื้อรั้ง
paranoid มีอาการประสาทหลอนร่วมด้วย
paraphrenia หวาดระเเวงจิตเภท
induced psychosis หวาดระเเวงชนิดเรื้อรัง ไม่มีลักษณะชัดเจน
กลไกการเกิดอาการหวาดระเเวง ใช้กลไกการป้องกันทางจิตเเบบปฏิเสธ
อาการเเละอาการเเสดง
การรับรู้ ระเเวงว่าผู้ใกล้ชิดเเอบทพฃำร้ายหรือมีเจตนาร้าย
อารมณ์ รู้สึกสงสัย อิจฉาริษยา ขุ่นเคือง โกรธ
พฤติกรรม ป้องกันตัวเองตลอดเวลา ไม่ไว้วางใจผู้อื่น
การรักษา
การใช้ยา
จิตบำบัด
พฤติกรรมบำบัด
สาเหตุ
ประสบการณ์ชีวิตประจำวัน
การได้รับสารพิษต่างๆ
การเจ็บป่วยด้วยโรคทางจิตเภท
ด้านการเลี้ยงดู ความอบอุ่น ความรักจากครอบครัว
ด้านพันธุกรรม ประวัติบุคคลในครอบครัว
กระบวนการวางแผนการพยาบาล
ข้อวิจฉัย กระบวนการคิดที่ผิดปกติ สัมพันธภาพทางสังคมบกพร่อง บกพร่องในการดูเเลตนเอง เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเอง
การปฏิบัติการพยาบาล สร้างสัมพันธภาพ สนับสนุนผู้ป่วย ส่งเสริมการดูเเลด้านกิจวัตรประจำวัน ส่งเสริมให้เห็นคุฯค่าของตนเอง
การประเมินปัญหา ประเมินอาการหวาดระเเวงต่างๆ
การประเมินผลการพยาบาล ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความหวาดระเเวง ผู้ป่วยตะหนักถึงความเป็นจริง ครอบครัวสนับสนุน
ความผิดปกติด้านการรับรู้
ประสาทลวงillusion มีสิ่งเร้ากระตุ้น
ประสาทหลอรHallicinotion ไม่มีสิ่งเร้ากระตุ้น
สาเหตุ ซึมเศร้า เพ้อ สับสน ความจำเสื่อม
พยาธิสภาพจิต ตื่นตัวของสมองที่ถูกโจมตีโดยการกระตุ้นร่างกายหรือภายนอกร่างกาย
อาการเเละอาการเเสดง มักอยู่คนเดียว จ้องไปที่ใดที่หนึ่งโดยเฉพาะ ยิ้มเเละพูดกับตนเอง
การจำเเนกประสาทหลอน ได้เเด่ ประสาทหลอนหู ประสาทตาหลอน ประสาทหลอนด้านการรับกลิ่น ประสาทหลอนด้านการรับรส ประสาทหลอนทางผิวสัมผัส
กระบวนการพยาบาล การประเมินดูปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ข้อวินิจฉัยการพยาบาลเกี่ยวกับการรับรู้ที่เปลี่ยนแปลงไปเเละสัมพันธภาพบกพร่อง การปฏิบัติการพยาบาลสร้างความไว้ใจรับฟังผู้รับบริการสังเกตพฤติกรรม การประเมินผลผู้รับบริการสามารถทานยาได้ตามเวลาไม่มีอาการประสาทหลอน
ความผิดปกติด้านพฤติกรรม
เเนวคิดเกี่ยวกับบุคลิกภาพ เเบบชอบเเสดงตัว เเบบชอบเก็บตัว เเบบกลางๆเรียบง่ายไม่เเสดงออกมากไปหรือน้อยไป
พฤติกรรมการเเยกตัว ลักษณะเย็นชา ห่างเหิน ไม่ยุ่งเกี่ยวกับผู้อื่น เเยกตัว ลกษณะเด่นความคิดจะวกวน อยู่ในโลกความฝัน สติปัญญาเสื่อมลง อารมณ์ราบเรียบ อารมณ์ไม่สมเหตุสมผล เหลื่อนตัวช้า ขาดความสนใจในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
เกณฑ์การประเมิน ต้องมีอาการเเสดงอย่างน้อย4อาการดังต่อไปนี้
มีกิจกรรมด้านสนุกสนานน้อย
ไม่มีเพื่อนสนิทหรือมีน้อยมาก
ไม่มีความสนใจหรือสนใจน้อยมากในเรื่องของการมีเพศสัมพันธุ์
ไม่สนใจคำชม หรือคำวิพากษ์วิจารณ์จากคนอื่น
ชอบทำกิจกรรมคนเดียว
เเสดงให้เห็นว่าอามณืเยือกเย็น
ไม่สนใจจะมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับผู้อื่นหรือคนในครอบครัว
กลไกการเกิดพฤติกรรมเเยกตัว บิดามารดาขัดเย้งกัน บิดามารดาปกป้องคุ้มครองจนเกินไป บิดามารดาเเยกตัวซึมเฉยเงียบ ปัญหาร้าวฉานของบิดามารดา
พฤติกรรมเจ้ากี้เจ้าการ พฤติกรรมที่มีอิทธิพลควบคุมคนอื่นโดยใช้อำนาจเหนือผู้อื่นพยายามให้ผู้อื่นทำตามความต้องการของตัวเอง
สาเหตุของการเกิดพฤติกรรม ไม่สมหวัง ความต้องการของตนเองโดยไม่คำนึงถึงผู้อื่นปรับตัวไม่สมดุลไม่ทำอะไรด้วยตนเองเพราะกลัวล้มเหลว
ลักษณะเด่นของพฤติกรรม
ขออภิสิทธิ์
ยุเเหย่ก่อเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจผิดกัน
ถ้าถูกกำจัดสิทธิ์หรือขัดใจจะเเสดงปฏิกิริยารุนเเรง
เรียกร้องความสนใจ
ปฏิเสธความจริงที่เกิดขึ้น
ต่อต้านกระบวนการบำบัดหลี่กเลี่ยงการเผชิญปัญหา
กระบวนการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล เผชิญปัญหาไม่มีประสิทธิภาพ มีพฤติกรรมเเยกตัว การเปลี่ยนแปลงของความคิดเนื่องจากมีการรับรู้ตนเองบิดเบือน
การปฏิบัติดารพยาบาล สร้างสัมพันธภาพ ให้การยอมรับพฤติกรรมโดยไม่ตำหนิ ส่งเสริมให้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น กระตุ้นให้ผู้รับบริการเข้ากลุ่มบำบัด
การประเมินผล สามารถเผชิญปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น สามารถปรับตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การประเมินสภาพใช้ทักษะการสังเกตอาการทางคลีนิกร่วมกับการสัมภาษณ์