Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคในระบบทางเดินหายใจ, นางสาวชนาภา มูลทองคำ เลขที่ 16 รหัสนักศึกษา…
โรคในระบบทางเดินหายใจ
-
โรคปอดอักเสบ (Pneumonia)
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย เชื้อที่พบได้บ่อยคือ Streptococcus pneumonia ส่วนเชื้อที่พบได้น้อยแต่มีความรุนแรงของโรคและภาวะแทรกซ้อนมาก ได้แก่ Klebsiella,Staphylococcus นอกจากนี้การติดเชื้อ Pseudomonas aeruginosa ทำให้เกิดโรคปอดอักเสบในโรงพยาบาล (Nosocomial pneumonia)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ชนิดของโรคปอดอักเสบ
โรคปอดอักเÿบในชุมชน (Community-acquired pneumonia: CAP) เป็นการอักเสบของปอดที่เกิดจากการติดเชื้อนอกโรงพยาบาล โดยมีเชื้อที่ก่อเหตุ ได้แก่ Streptococcus pneumoniae
ปอดอักเสบในโรงพยาบาล (Hospital-acquired pneumonia: HAP) มีเชื้อที่ก่อเหตุ ได้แก่ Acinetobacter spp., Pseudomonas aeruginosa
ปอดอักเสบจากการใส่เครื่องช่วยหายใจ (Ventilation associatedpneumonia: VAP) เป็นการอักเสบของปอดที่เกิดขึ้นภายหลังจากการรักษาด้วยการใส่ท่อช่วยหายใจตั้งแต่ 48 ชั่วโมงขึ้นไป
ปอดอักเสบที่มีความเกี่ยวข้องกับระบบบริการสุขภาพ (Healthcareassociated pneumonia: HCAP) เป็นการอักเสบที่พบจากการที่ผู้ปุüยมีประüัติพักรักษาตัวในโรงพยาบาลตั้งแต่ 48 ชั่วโมง
-
พยาธิสภาพ
ได้รับสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ ร่างกายจากการหายใจ จะมีกลไกการขับสิ่งแปลกปลอมออก ได้แก่ การกระตุ้นให้เกิดการไอและจาม รวมทั้งมีการสร้างสารคัดหลั่งออกมาเพิ่มมากขึ้น เพื่อเจือจางสิ่งแปลกปลอมและขับออกจากร่างกาย แต่ในภาวะที่ร่างกายไม่สามารถสร้างกลไกการกำจัดสิ่งแปลกปลอมดังกล่าวออกไปได้ ส่งผลให้เกิดกระบวนการอักเสบและติดเชื้อภายในปอด
อาการและอาการแสดง
-
-
เจ็บหน้าอกขณะหายใจ โดยพบว่ามีอาการเจ็บมากในช่วงของการหายใจเข้า(Pleuritic chest pain) และจะมีอาการเจ็บมากขึ้นเมื่อมีการใช้แรงในการหายใจที่หนักขึ้น
หายใจลำบาก หอบเนื่อยหรืออาจมีอาการหายใจเร็วมากขึ้นไอ ลักษณะของเสมหะมีการเปลี่ยนแปลง ในบางรายอาจพบว่ามีเสมหะเป็นหนอง
-
การรักษา
การรักษาโดยไม่ใช้ยา (Non-pharmacological intervention) ได้แก่แนะนำการทำกายภาพบำบัดปอด (Chest physiotherapy) โดยมี 2 วิธี คือ การเคาะปอด (Percussion) และการสั่นสะเทือน (Vibration) การฝึกออกกำลังกายของทรวงอก โดยการเป่า Tri-ball Incentive spirometer
การรักษาโดยการใช้ยา (Pharmacological intervention) ได้แก่ เสมหะ ดูแลให้ได้รับยาละลายเสมหะ ได้แก่ Bromhexine, Acetylcysteine การให้ยาปฏิชีวนะอยู่ระหว่าง 7-14 วันขึ้นอยู่กับเชื้อ
-
-
การพยาบาล
มีภาวะติดเชื้อที่ปอด เนื่องจาก ประสิทธิภาพในการขับเสมหะลดลง หรือสำลักน้ำและเศษอาหาร หรือพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอดลดลงจากมีน้ำและของเหลวคั่ง
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
โรคหอบหืด (Asthma)
-
พยาธิสภาพ
โรคหอบหืดที่ได้รับการกระตุ้นจากสารกระตุ้นต่างๆอย่างต่อเนื่อง จะส่งผลให้เกิด การอักเสบเรื้อรังผนังของถุงลมหนาตัวขึ้น เกิดการเปลี่ยนแปลงของหลอดลมอย่างถาวร และนำไปสู่การเกิดภาวะหลอดลมตีบ
-
การรักษา
การรักษาโดยไม่ใช้ยา (Non-pharmacological intervention) ได้แก่ การลดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคหอบหืด นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม หลีกเลี่ยงปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความเครียด
-
-
Long Covid-19
-
แนวทางการดูแลตนเอง
1.รักษาสุขภาพ รักษาสุขภาพโดยรวมให้แข็งแรง กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละสองครั้ง
2.ทำกิจกรรม ที่มีส่วนในการกระตุ้นสมอง เช่น เล่นหมากรุก อักษรไขว้ หรืองานอดิเรกที่สร้างความผ่อนคลาย เช่น เล่นดนตรี ปลูกต้นไม้
3 กินยาและติดตามรักษา โรคประจำตัวให้ดีและต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคหลอดเลือดสมอง ความดัน โลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง และโรคซึมเศร้าและวิตกกังวล
4.เลี่ยงการซื้อยากินเอง ควรหลีกเลี่ยงการซื้อยากินเองโดยไม่จำเป็น เนื่องจากยาบางชนิดมีผลทำให้สมรรถภาพ สมองลดลงได้ และยังไม่มียาชนิดใดที่มีหลักฐานว่าใช้รักษาภาวะนี้ได้
-