Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารความเสี่ยง ความขัดแย้ง, 65U54620103 นางสาวพลอยชมพู เอมอินทร์ -…
การบริหารความเสี่ยง ความขัดแย้ง
ความเสี่ยง
ความหมาย
อกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่าหรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์
สาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดความเสี่ยง
ภายใน
ปัจจัยความเสี่ยงในเรื่องของการปฏิบัติงาน
ความเสี่ยงด้านบุคลากร
ปัจจัยทางด้านการเงิน
ความเสี่ยงในกลยุทธ์การบริหารงาน
ภายนอก
ความเสี่ยงของคู่ค้า
ความเสี่ยงเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบราชการ
ความเสี่ยงที่เกิดจากสภาวะการแข่งขัน
ความเสี่ยงจากสภาวะทางเศรษฐกิจและการเมือง
ความสำคัญ
เป็นเครื่องมือสําคัญที่จะช่วยให้องค์กรเกิดความมั่นใจในการดําเนินกิจกรรมต่างๆได้สําเร็จลุล่วงตาม วัตถุประสงค์
การบริหารความเสี่ยง
ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง
การตอบสนองความเสี่ยง
กิจกรรมการควบคุม
การประเมินความเสี่ยง
สารสนเทศและการสื่อสาร
การนําผลการตัดสินใจไปปฏิบัติ
การระบุความเสี่ยง
ความขัดแย้ง
ความหมาย
ความสัมพันธ์ที่มีลักษณะของความไม่เป็นมิตรหรือตรงกันข้ามหรือไม่ลงรอยกันหรือความไม่สอดคล้องกัน
ประเภทของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม (Intergroup Conflict)
ความขัดแย้งในองค์กร (Intraorganizational Conflict)
ความขัดแย้งภายในกลุ่ม (Intragroup Conflict)
ความขัดแย้งระหว่างองค์กร (Interorganizational Conflict)
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล (Interpersonal Conflict)
ความขัดแย้งภายในตัวบุคคล (Intrapersonal Conflict)
การบริหารความขัดแย้ง
รุปแบบการบริหารความขัดแย้ง
Compromising การประนีประนอม
Competing การแข่งขัน
Avoiding การหลีกเลี่ยง
Collaborating การให้ความร่วมมือ
Accommodetion การปรองดอง
ขั้นตอนในการบริหารความขัดแย้ง
ตั้งใจฟังและเปิดโอกาสให้ทุกคนได้พูด
ประเมินสถานการณ์
หาพื้นที่ส่วนตัวหรือปลอดภัยในการเจรจา
กำหนดวิธีการแก้ไขปัญหา
1.หาสาเหตุของความขัดแย้งให้ได้ก่อน
กำหนดความรับผิดชอบในการแก้ไขปัญหา
ประเมินผลและวางแผนป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้
ความหมายและความสำคัญ
ความกระตือรือร้นในการทำงาน
ความคิดสร้างสรรค์
พัฒนานวัตกรรมใหม่
เกิดความสามัคคี
ความขัดแย้งและความเสี่ยงทางการศึกษา
กรณีศึกษา
ความเสี่ยงของสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19
การนำเสนอแนวทางการบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกรุงเทพมหานคร
ปัจจัยความสำเร็จทางการศึกษา
การระบุการจัดการความเสี่ยง
การลงมือจัดการความเสี่ยง
การกำหนดวัตถุประสงค์
ติดตามและทบทวนการดำเนินงาน
การประเมินความเสี่ยง
สื่อสารกับผู้เกี่ยวข้อง
การระบุประเด็น
ประเด็นความเสี่ยงในสถานศึกษา
input
บุคลากร
หลักสูตร
นโยบาย
process
การพัฒนาหลักสูตร
การบริหารวิชาการ
บุคลากร
นโยบาย
context
การเมืิอง
การแข่งขัน
กฎหมายพระราชบัญญัติ
การประกินคุณภาพการศึกษา
output
งานวิจัย
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
งานบริหารวิชาการ
ระบวนการบริหารความเสี่ยง
ระดับปฎิบัติการ (Operational Risk)
ระดับกลยุทธ์ (Strategic Risk)
หลักการสำคัญเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้ง
ช่วยรักษาความสัมพันธ์และความเป็นมิตรระหว่างสองฝ่าย
ร่วมมือกัน
Win – Win
วามพอใจในผลที่ได้รับ
สาเหตุของความขัดแย้งทางการศึกษา
ความไม่พอเพียงของทรัพยากรทางการศึกษา
ลักษณะของงานที่ต้องพึ่งพากัน
การสื่อสารที่ไม่ชัดเจน
ความคลุมเครือในเรื่องขอบเขตของงานในแต่ละด้านและหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้เกี่ยวข้อง
คุณลักษณะของแต่ละบุคคลที่แตกต่างกัน
บทบาทและหน้าที่
กรณีศึกษา
การพัฒนากลยุทธ์การบริหารความขัดแย้งสำหรับสถานศึกษาของรัฐ
65U54620103 นางสาวพลอยชมพู เอมอินทร์