Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อวัยวะเป้าหมาย Target Organs - Coggle Diagram
อวัยวะเป้าหมาย
Target Organs
ส่วนประกอบของไต
เนื้อไตชั้นนอก (renal cortex)
เป็นส่วนของเนื้อไตที่อยู่ติดกับเปลือกหุ้มไต (renal capsule) เนื้อไตมีสีน้าตาลแดง หรือสีเหลืองปนแดงจะเป็นบริเวณที่มีเลือดมาหล่อเลี้ยงมาก ส่วนของเส้นเลือดแดงที่มาหล่อเลี้ยงเนื้อไต
เนื้อไตชั้นใน (renal medulla)
เป็นส่วนเนื้อไตที่อยู่โดยรอบกรวยไต (renal pelvis) มีผิวเรียบส่วนนอกมีสีน้าตาลเข้ม และมีลักษณะคล้ายแถบรังสีที่แผ่ยื่นเข้าไปในเนื้อไตชั้นนอก แต่ส่วนเนื้อไตชั้นในที่ติดกับกรวยไตจะมีสีซีดกว่า และมีหลอดไตขนาดต่างๆ เรียงตัวกันหนาแน่น โดยหลอดไตรวม (collecting tubules)
หน่วยเล็กที่สุดของไต เรียกว่า nephron ทำหน้าผลิตน้าปัสสาวะ
ภายใน nephron แบ่งเป็น renal corpuscle or malpighian corpuscle และหลอดไต (renal tubule
renal corpuscle or malpighian corpuscle ประกอบด้วย glomerulus และ Bowman’s capsule ที่เป็นส่วนของหลอดไต (renal tubule) ที่มีลักษณะปลายตัน มีรูปร่างคล้ายรูปถ้วย ทำหน้าที่ห่อหุ้ม glomerulus ซึ่งมีผนัง 2 ชั้น ชั้นในจะติดกับ glomerulus ส่วนชั้นนอกจะเป็นรูปทรงกลม และอ้อมไปต่อกับหลอดไตส่วนต้น (proximal convoluted tubule) ระหว่างชั้นทั้งสองจะเป็นช่องว่างสาหรับให้สิ่งที่กรองได้glomerulus filtrate หรือน้ำกรองจากเลือดให้ไหลผ่านออกมาเข้าทางหลอดไตส่วนต้น (proximal convoluted tubule) ต่อไป
หลอดไต (renal tubule) สิ่งที่กรองได้จาก glomerulus จะไหลผ่านมาตลอดความยาวของท่อนี้ ในระหว่างที่ไหลผ่านท่อจะมีการมีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารที่เป็นองค์ประกอบภายในน้ากรองจนได้น้าปัสสาวะที่แท้จริง
ส่วนประกอบของน้ำปัสสาวะ
น้ำปัสสาวะเป็นของเหลวที่ผลิตจากไต
มีสีค่อนข้างเหลืองซึ่งเกิดจากน้ำดี
มีน้ำเป็นส่วนประกอบประมาณ 95%และมีของแข็งประมาณ 5 % ของแข็งที่เป็นส่วนประกอบมีทั้งส่วนที่เป็นสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ ได้แก่ ยูเรีย แอมโมเนีย น้ำตาล โซเดียมอิออน คลอไรด์อิออน แคลเซียมอิออน และแมกนีเซียมอิออน เป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีกรดไขมันบางชนิด และฮอร์โมนบางชนิดด้วย
ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของน้ำปัสสาวะ จะขึ้นกับปริมาณของเกลือแร่หรือแร่ธาตุต่างๆ และปริมาณน้ำที่เป็นส่วนประกอบ ปัสสาวะที่มีค่าเป็นกรด คือมีค่า pH ต่ากว่า 7.4 จะมีไฮโดรเจนอิออน (H+) และแอมโมเนียมอิออน (NH4+) ปนอยู่มาก แต่ถ้าปัสสาวะมีค่าเป็นด่าง จะมีไบคาร์บอเนตอิออน (HCO3–) โซเดียมอิออน (Na+) และโพแตสเซียมอิออน (K+) สูง โดยทั่วไปน้ำปัสสาวะจะมีค่าความเป็นกรดเล็กน้อย ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงไปตามอาหารที่กิน สภาพร่างกายและการติดเชื้อ กรณีเป็นโรคเบาหวานปัสสาวะจะเป็นกรด
ความเป็นพิษต่อไต
(Nephrotoxicity)
ส่วนประกอบของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ไต (kidneys) 1 คู่
ท่อไต หรือหลอดปัสสาวะ (ureters) 1 คู่
กระเพาะปัสสาวะ (urinary bladder)
ท่อปัสสาวะ (urethra)
การกรองของไต
ไตมีหน้าที่อยู่ 3 ประการ คือ
การกรอง ที่ glomerular
การดูดกลับที่ tubular
การกำจัดออกที่ tubular
หน้าที่ของไต
สร้างน้ำปัสสาวะจากขบวนการเมตาโบลิซึมของเซลล์
การควบคุมสมดุลของน้ำในร่างกาย ไตเป็นตัวควบคุมปริมาณน้ำในร่างกายไม่ให้มีการขับน้ำออกมากเกินไป โดยการควบคุมของฮอร์โมน antidiuretic hormone , ADH ที่สังเคราะห์จากต่อมใต้สมองส่วนหน้าและ aldosterone ที่สังเคราะห์จากต่อมหมวกไตส่วนนอก
ควบคุมสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย ด้วยการควบคุมสมดุลของกรด-ด่างในน้ำเลือด โดยทั่วไปในเลือดมีค่า pH ประมาณ 7.4 ซึ่งเป็นระดับที่เซลล์ในร่างกายสามารถทำหน้าที่ได้อย่างปกติ แต่การที่เลือดมี pH เป็นด่างมากเกินไป (alkalosis) หรือ มี pH เป็นกรดมากเกินไป (acidosis) จะมีผลให้การทำงานของเซลล์มีประสิทธิภาพลดลง
ควบคุมสมดุลของเกลือแร่ในร่างกาย (electrolyte balance) โดยการขับแร่ธาตุส่วนที่มีมากเกินความต้องการออก และดูดกลับแร่ธาตุส่วนที่ร่างกายมีความต้องกลับเข้าสู่ร่างกายผ่านทางหลอดไต
สังเคราะห์และหลั่งฮอร์โมน erythropoietin ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง (erythropoiesis) และฮอร์โมนที่เกี่ยวกับการควบคุมความดันของเลือด คือ ฮอร์โมน renin
เกี่ยวกับการทาลายสารพิษ (detoxification) เพื่อช่วยกำจัดสารพิษในร่างกาย โดยการเปลี่ยนสารพิษบางชนิดให้เป็นสารที่มีพิษน้อยลง หรือเปลี่ยนให้เป็นสารที่ไม่มีพิษ แล้วขับออกจากร่างกาย
ทำหน้าที่ผลิตไวตามินดีที่ทำงานได้ (active vitamin D or 1, 25 Dihydroxycholocalciferal) เพื่อช่วยในการดูดซึมแคลเซียมอิออนที่ผนังลาไส้เล็ก
ความเป็นพิษต่อไต (Nephrotoxicity)
การเกิดอันตรายต่อการกรองที่ Glomerulas
การกรองน้อยลง เกิดมาจากการหดตัวของหลอดเลือด อัตราการไหลของเลือดไปไตน้อยลง ยับยั้งการสร้างสารพลอสตาแกลนตินส์ (รักษาสภาพของเซลล์ในไตให้ปกติ) เนื้อเยื่อไตเกิดภาวะขาดเลือด สูญเสียการทางาน เนื้อเยื่อตาย การกรองน้อยลง การไหลของปัสสาวะน้อยลง การกรองสารต่างๆ เปลี่ยนแปลงมีระดับยูเรียในเลือดมากขึ้น
ทำให้สารที่มีประโยชน์จากร่างกายถูกกรองน้อยลง เช่น โปรตีน กลูโคส ทาให้พบสารเหล่านี้ในปัสสาวะ
การตรวจปัสสาวะ
(UA: Urinary Analysis)
ปัสสาวะมากเกินไป (Polyuria)
พบในกรณีใช้ยาขับปัสสาวะ การดื่มนามากเกินไป การได้รับยากลุ่ม corticosteroids
ปัสสาวะน้อยเกินไป (Oliguria)
ภาวะขาดน้ำ (ท้องเสีย/อาเจียน) ไข้สูง ไตอักเสบเฉียบพลัน ภาวะบวมน้ำ เป็นต้น
การทดสอบประสิทธิภาพการทำงานของไต
การตรวจยูเรียไนโตรเจนในเลือด (BUN) 5 - 25 mg%
การตรวจครีเอตินินในเซรั่ม (Creatinine) 0.6 - 1.50 mg%
ความเป็นพิษต่อทางเดินหายใจ (Pulmonotoxicity)
แทนที่ออกซิเจน
การระคายเคือง
การทาลายเซลล์เยื่อบุ
การเกิดพังผืด
การเกิดการหดตัวของหลอดลมจากอาการแพ้
มะเร็งปอด
ลักษณะการตอบสนองของระบบหายใจ
การระคายเคือง
สารพิษที่ทำให้เกิดการอักเสบและบวมของเยื่อบุทางเดินหายใจ ซึ่งอาจแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มได้แก่
1.ระคายเคืองทางเดินหายใจส่วนบน
ระคายเคืองทางเดินหายใจส่วนล่าง
การเกิดพังผืด
เป็นการกระตุ้นเซลล์ไฟโบสบลาส (Fibroblast) ที่เกี่ยวข้องกับการเนื อเยื่อเกี่ยวพันชนิดคอลลาเจนและชนิดอื่นเพิ่มขึ น ทาให้เกิด Fibrosis หรือการเกิดพังผืด จะทาให้ปอดขยายตัวน้อยลง ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนก๊าซเป็นไปได้ยาก
การเกิดการหดตัวของหลอดลมจากอาการแพ้
มะเร็งปอด
ควันบุหรี่ แอสเบสตอส (asbestos) ก๊าซเรดอน (radon) สารหนู รังสี และสารเคมีอื่นๆ รวมถึงฝุ่นและไอระเหยจากนิกเกิล โครเมียม และโลหะอื่นๆ
ความเป็นพิษที่ผิวหนัง
(Dermal Toxicity)
Skin structure
Dermal Toxicity
การเกิดพิษที่ผิวหนัง แบ่งออกเป็น 4 แบบ
Dermal Irritation
Dermal corrosion
Dermal hypersensitivity orAllergic contact dermatitis
Dermal cancer
Skin Cancer