Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
End stage renal disease (ไตวายระยะสุดท้าย) - Coggle Diagram
End stage renal disease (ไตวายระยะสุดท้าย)
การวินิจฉัยโรคสุดท้าย (Final Diagnosis) : End stage renal disease c volume overload ไตวายระยะสุดท้าย ร่วมกับมีภาวะน้ำเกิน
พยาธิสภาพ
โรคไตวายเกิดจากการเสื่อมของไต และการถูกทำลายของหน่วยไต มีผลให้อัตราการกรองทั้งหมดลดลง และการขับถ่ายของเสียลดลง ปริมาณ ครีตินิน และ ยูเรียไนโตรเจน ในเลือดสูงขึ้น หน่วยไตที่เหลืออยู่ จะเจริญมากผิดปกติเพื่อกรองของเสียที่มีมากขึ้น ผลที่เกิดทำให้ไตเสียความสามารถในการปรับ ความเข้มข้นปัสสาวะ ปัสสาวะถูกขับออกไปอย่างต่อเนื่อง หน่วยไตไม่สามารถดูดกลับเกลือแร่ต่างๆ ได้ ทำให้สูญเสียเกลือแร่ออกจากร่างกาย จากการที่ไตถูกทำลายมากขึ้น และการเสื่อมหน้าที่ของหน่วยไต ทำให้อัตราการกรองของไตลดลง ร่างกายจึงไม่สามารถขจัดน้ำเกลือ ของเสียต่างๆ ผ่านไตได้
อาการและอาการแสดง
ตัวบวม
น้ำท่วมปอด หายใจไม่ถนัด นอนราบไม่ได้
คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนแรง เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ ผิวแห้ง คัน
ความดันโลหิตสูง
ปัสสาวะออกน้อย (oliguric phase) หรือไม่มีน้ำปัสสาวะออกจากร่างกาย
มีภาวะซีด
GFR น้อยกว่า 15 มล./นาที/พี้นที่ผิวกาย 1.73 เมตร2
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
โรคความดันโลหิตสูง
ระดับความดันโลหิตที่สูงขึ้นความทำให้ความ
ยืดหยุ่นของหลอดเลือดลดลงทำให้เลือดไปเลี้ยงที่ไต
ลดลง ส่งผลให้การทำงานของไตลดลง
โรคหลอดเลือดฝอยในไตอักเสบเรื้อรัง
โรคเบาหวาน
ความผิดปกติของไตและระบบทางเดินปัสสาวะตั้งแต่กำเนิด
โรคพันธุกรรมต่างๆ เช่น โรคลูปัส
ภาวะอุดกั้นในทางเดินปัสสาวะ
ไตอักเสบเรื้อรังจากการติดเชื้อ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีภาวะของเสียคั่งในร่างกาย เนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่
SD : - ผู้ป่วยบอกว่าเหนื่อย
OD : -มีอาการบวมที่เท้า และขา - pitting edema 3+
ผลตรวจวันที่ 15/07/2565
BUN 96 mg/dL (ค่าปกติ 10-20 mg/dL)
-Creatinine 20.29 mg/dL (ค่าปกติ 0.6-1.2 mg/dL)
-GFR 2.5 mL/min (ค่าปกติ > 90)
วัตถุประสงค์ : เพื่อลดการคั่งของของเสีย
เกณฑ์การประเมิน : 1.ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะคั่งของเสียคั่ง เช่น อาการบวมบริเวณเท้าและขา 2.pitting edema ลดลง
3.BUN,Creatinine,GFR อยู่ในเกณฑ์ปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการและอารแสดงของของเสียคั่งในร่างกาย เช่น ขาบวม เท้าบวม อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
2.จัดท่านอนศีรษะสูง 45 องศา
3.ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา O2 cannula 3 lit/min
4.บันทึกปริมาณสารน้ำเข้า-ออก ทุก 8 `ชั่วโมง เพื่อประเมินความสมดุลของน้ำเข้าและน้ำออก
6.ให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์
7.ติดตามผล BUN Creatinine และค่า GFR เพื่อประเมินการทำงานของไตในการกรองของเสีย
5.บันทึกปริมาณปัสสาวะทุก 1-2 ชั่วโมง
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เส้นเลือดในสมองแตกหรือตีบตัน เนื่องจากความดันโลหิตสูง
เกณฑ์การประเมิน : 1.ไม่มีอาการและอาการแสดงของอันตรายจากความดันโลหิตสูง เช่น เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ปวดต้นคอ 2.ความดันโลหิตลดลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
วัตถุประสงค์ : เพื่อไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากความดันโลหิตสูง
SD : - ผู้ป่วยบอกว่าไม่ได้กินยาลดความดัน -มีอาการปวดศีรษะ
OD : (วันที่ประเมิน 18/07/65) - 145/104 mmHg เวลา 09.00 น. 164/104 mmHg เวลา 11.00 น.
156/96 mmHg เวลา 13.00 น. 161/101 mmHg เวลา 16.00 น.
กิจกรรมการพยาบาล
2.วัดความดันโลหิตทุก 2 ชั่วโมง เพื่อประเมินระดับความดันโลหิตและให้การพยาบาล
3.อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ ถ้าไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตให้อยู่ในระดับปกติได้
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของความดันโลหิตสูง เช่น เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ปวดต้นคอ
4.แนะนำให้สังเกตอาการผิดปกติ เช่น ชาปลายมือ ปลายเท้า เจ็บหน้าอก บวม
5.แนะนำให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงภาวะเครียด โดยการยอมรับกับโรคที่เป็นอยู่ ฝึกผ่อนคาย ฝึกสมาธิ
6.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ซักถามเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง
เสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง เนื่องจากขาดความตระหนักในการดูแล
SD : - ผู้ป่วยบอกว่าไม่ได้กินยาลดความดัน
-ผู้ป่วยไปรับการรักษาไม่ต่อเนื่อง
-ผู้ป่วยไม่ออกกำลังกาย -รับประทานอาหารรสจัด รสเค็ม
-มีอาการปวดศีรษะ
OD : -BMI 23.31 กิโลกรัม/เมตร2 น้ำหนักเกิน (วันที่ประเมิน 18/07/65) - 145/104 mmHg เวลา 09.00 น. 164/104 mmHg เวลา 11.00 น.
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ผู้ป่วยตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อลดความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของความดันโลหิตสูง เช่น เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ปวดต้นคอ
2.สอบถามความรู้เกี่ยวกับการรักษาที่ผ่านมาและความเชื่อเพื่อประเมินการรับรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง
3.อธิบายความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง ภาวะแทรกซ้อน เพื่อให้ผู้ป่วยตระหนักถึงความสำคัญของการรักษา
4.อธิบายการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและเหมาะสมกับโรคความดันโลหิตสูง เช่น การรับประทานอาหาร การออกกำลังการ การมาตรวจตามนัดและการรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง
เกณฑ์การประเมิน : 1.ไม่มีอาการและอาการแสดงของความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง เช่น ปวดศีรษะ ปวดต้นคอ
2.ผู้ป่วยสามารถบอกวิธีปฏิบัติตนได้ถูกต้องและเหมาะสมกับโรคความดันโลหิตสูง
ปวด เนื่องจากมีภาวะอุดตันที่หลอดเลือดดำส่วนลึก
SD : ผู้ป่วยบอกว่าปวดขาซ้าย OD : - ผู้ป่วยมักบีบนวดที่ขาข้างซ้าย
ผู้ป่วยเหยียดขาได้ไม่เต็มที่
มีอาการบวมที่ขาข้างซ้าย
Pain score 4 คะแนน
วัตถุประสงค์ : มีอาการปวดลดลง
เกณฑ์การประเมิน : 1.ไม่มีอาการแสดงของอาการปวด 2. Pain score ลดลง
กิจกรรมการพยาบาล
2.ประเมิน Pain score
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของอาการปวด เช่น หน้านิ่ว คิ้วขมวด ุ
3.จัดท่าให้ผู้ป่วยยกขาสูงกว่าหัวใจ เพื่อเพิ่มการไหลกลับของเลือดดำ
4.แนะนำให้ผู้ป่วยบริหารเท้าและข้อเท้า โดยการกระดกปลายเท้าขึ้นลง
5.แนะนำให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวร่างกาย เพื่อป้องกันการคั่งของเลือดดำที่ขา
มีภาวะ Hyperkalemia เนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่
SD : -ผู้ป่วยบอกว่าเหนื่อย อืดท้อง OD : -ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อย อ่อนเพลีย
ผลตรวจวันที่ 19/07/65
-Potassium 5.7 mmol/L (ค่าปกติ 3.5-5.5 mmol/L)
เกณฑ์การประเมิน : 1.ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะ Hyperkalemia ได้แก่ อาการเหนื่อย อ่อนเพลีย ใจสั่น คลื่นไส้อาเจียน ท้องอืด 2.ค่า Potassium อยู่ในเกณฑ์ปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะ Hyperkalemia ได้แก่ อาการเหนื่อย อ่อนเพลีย ใจสั่น คลื่นไส้อาเจียน ท้องอืด
2.บันทึกสัญญาณชีพทุก 2 ชั่วโมง
3.ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา O2 cannula 3 L/mim
4.จัดให้ผู้ป่วยนอนพักผ่อนบนเตียง แนะนำให้ทำกิจกรรมเท่าที่จำเป็น
5.แนะนำให้ผู้ป่วยไหลีกเลี่ยงรับประทานผลไม้ที่มีโปตัสเซียมสูง เช่น กล้วย องุ่น
6.ติดตาผลทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ค่า Potassium
วัตถุประสงค์ : ไม่มีภาวะ Hyperkalemia
มีโอกาสเกิดภาวะทุพโภชนาการ เนื่องจากรับประทานอาหารได้น้อย
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
เกณฑ์การประเมิน : 1.ไม่มีอาการแสดงของการขาดสารอาหาร
2.สามารถรับประทานอาหารได้ตามแผนการรักษา
3.ค่า Albumin อยู่ในเกณฑ์ปกติ
SD : -ผู้ป่วยบอกว่ารับประทานอาหารได้น้อย เพราะมีอาการปวด แน่นท้อง
OD : -รับประทานอาหารได้ไม่ถึงครึ่งถาด
ผลตรวจวันที่ 18/07/65 -Albumin 2.8 g/dL ( 3-5 g/dL )
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินภาวะโภชนาการของผู้ป่วย เช่น ความชุ่มชื่นของผิวหนัง การเคลื่อนไหวของลำไส้ อาการท้องอืด
2.ดูแลสุขวิทยาของช่องปากและฟัน ด้วยการแปรงฟัน บ้วนปากด้วยน้ำยาบ้วนปากหรือน้ำเกลือ ก่อนและหลังรับประทานอาหาร
3.ดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้คุณค่าทางโภชนาการสูง
4.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเสริม เช่น นม ผลไม้
5.บันทึกจำนวนอาหารที่รับประทานในแต่ละมื้อ
6.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพออย่างน้อยวันละ 8 ชั่วโมง เพื่อลดการใช้พลังงาน
7.ติดตามการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น ค่า Albumin
เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังทำการฟอกเลือดด้วยเครื่องล้างไตเทียม ได้แก่ fever chills,Hypotention,First use syndrome type A,B
SD : -ผู้ป่วยบอกว่าเหนื่อย ปวดท้อง OD : - มีไข้ อุณหภูมิ 38.6 องศาเซลเซียส -ปวดบริเวณท้องด้านขวา Pain score 5 คะแนน -BP 142/94 mmHg
วัตถุประสงค์ : เพื่อลดการเกิดความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อน
เกณฑ์การประเมิน :1.ไม่มีอาการและอาการแสดงของการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เวียนศีรษะ มีไข้ หนาวสั่น ความดันโลหิตสูง เจ็บแน่นหน้าอก
2.ไม่มีไข้ อุณหภูมิปกติ
3.ความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
2.ประเมินสัญญาณชีพทุก 2 ชั่วโมง
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนหลังทำการฟอกเลือดด้วยเครื่องล้างไต เช่น อาการเวียนศีรษะ มีไข้ หนาวสั่น ความดันโลหิตสูง เจ็บแน่นหน้าอก
3.ดูแลเช็ดตัวลดไข้ และดูแลตามอาการที่เกิดขึ้น
4.แนะนำให้ผู้ป่วยระมัดระวังการกระทบกระแทกแรงๆ โดยเฉพาะบริเวณเส้นเลือดที่ใช้ฟอกเลือด เพราะจะทำให้เลือดออกมาก และอาจมีสารป้องกันการแข็งตัวของเลือดในขณะฟอก ทำให้เลือดหยุดยากและเขียวช้ำบริเวณที่ถูกกระแทกได้
ข้อมูลส่วนบุคคล (Personal data)
ผู้ป่วยเพศ ชาย อายุ 40 ปี
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล (Chief complaint) : 1 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการขาบวม เท้าบวมข้างซ้าย ปวดท้องมาก
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน (Present illness) : 1-2 เดือนก่อนเริ่มมีอาการขาบวม เท้าบวมทางด้านซ้ายเป็นๆ หายๆ 1 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาลเริ่มมีอาการบวมมากขึ้น มีอาการปวดท้อง อุจจาระ ปัสสาวะไม่ออก มีอาการเหนื่อยง่าย
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต (Past history) : ปัจจุบันมีโรคประจำตัวเป็นความดันโลหิตสูงมาเป็นระยะเวลา 3 ปี
พยาธิสภาพความดันโลหิตสูง
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยหอบขณะทำงานหรืออาการเหนื่อยหอบนอนราบไม่ได้
อาการเจ็บหน้าอกสัมพันธ์กับภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
เลือดกำเดาไหล
ปวดศีรษะ, เวียนศีรษะ
ความดันโลหิตจะเกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจและแรงต้าน
การไหลเวียนของหลอดเลือดส่วนปลาย โดยความดัน โลหิตคือปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจใน 1 นาที
(cardiac output) และความต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลายการมีระดันความดันโลหิตสูง เกิดจากการ
เพิ่มขึ้นของปัจจัยใดปัจจัยหนึ่ง หรือจากความล้มเหลวของกลไกการปรับชดเชยปัจจัย
หลักที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับความดันโลหิต
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (hemodialysis)
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมเป็นการขจัดของเสียและน้ำออกจากเลือด โดยเลือดจะออกจากตัวผู้ป่วยทางเส้นเลือดดำ แล้วผ่านตัวกรองซึ่งในตัวกรองจะมีเนื้อเยื่อ ที่จะช่วยกรองของเสียและน้ำด้วยการแพร่ออกจากเลือด เมื่อเลือดผ่านตัวกรองแล้วจะกลายเป็นเลือดดี และกลับสู่ร่างกาย โดยกระบวนการทั้งหมดนี้จะถูกควบคุมโดยเครื่องไตเทียม
ผงการตรวจทางห้องปฎิบัติการ
BUN 15/07/65 96 Mg/dl
18/07/65 80 Mg/dl
19/07/65 92 Mg/dl
Creatinine 15/07/65 20.29 Mg/dl
18/07/65 21.65 Mg/dl
19/07/65 22.60 Mg/dl
GFR 15/07/65 2.5 mL/min
18/07/65 2.3 19/07/65 mL/min
19/07/65 2.4 mL/min