Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คุณลักษณะของความเป็นพลเมืองที่ดี, นาย นวมินทร์ พันธางกูร 6210110162 …
คุณลักษณะของความเป็นพลเมืองที่ดี
นิยามพลเมืองที่ดี
พลเมือง (Citizen) หมายถึง ประชาชน ราษฎร ชาวประเทศ
พลมือง คนที่ต้องมีความรู้และสามารถในการปกครองและถูกปกครอง
พลมืองที่มีความผูกผันในการเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมือง และมีแนวโน้มที่จะขยายขอบเขตความรับผิดชอบทางสังคมกว้างขึ้นไป ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับโลก
ระดับความเป็นพลเมือง
พลเมืองระดับมีส่วนร่วม (Engaged Citizen)
พลเมืองระดับกระตือรือร้น (Active Citizen)
พลเมืองระดับตระหนักรู้(Concerned Citizen)
พลเมืองระดับเฉื่อยชา (Inertia Citizen)
แนวทางการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี
ด้านสังคม
-การแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
-การรับฟังข้อคิดเห็นของผู้อื่น
-การยอมรับเมื่อผู้อื่นมีเหตุผลที่ดีกว่า
-การตัดสินใจโดยใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์
-การเคารพระเบียบของสังคม
ด้านการเมืองการปกครอง
-การเคารพกฎหมาย
-การรับฟังข้อคิดเห็นของทุกคน
-การยอมรับในเหตุผลที่ดีกว่า
-การซื่อสัตย์ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน
-การกล้าเสนอความคิดเห็นต่อส่วนรวม
-การทำงานอย่างเต็มความสามารถเต็มเวลา
ด้านเศรษฐกิจ
-การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
-การพัฒนางานอาชีพให้ก้าวหน้า
-การซื่อสัตย์สุจริตต่ออาชีพที่ทำ
-การประหยัดและอดออมในครอบครัว
องค์ประกอบความยึดมั่นในความเป็นพลเมือง
-ความรู้สึกเกี่ยวข้องกับชุมชนและการเมือง
-การมีเจตคติด้านพลเมือง
-การเข้าร่วมกลุ่มหรือองค์กร
-การมีความประสงค์ที่จะทำเพื่อส่วนรวม
-การมีความสามารถด้านพลเมือง
-ความรู้สึกตระหนักต่อหน้าที่พลเมือง
-การมีความรู้ด้านพลเมือง
-การมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อสาธารณะ
การเรียนรู้เพื่อความรับผิดชอบต่อสังคม
การเรียนรู้ไม่ใช่สิ่งที่ให้แก่ผู้เรียน แต่เป็นสิ่งที่ผู้เรียนลงมือทำให้แก่ตนเอง
ธรรมชาติของการเรียนรู้ของมนุษย์
หลักความต้องการ
ของมนุษย์
ความต้องการที่จะพัฒนาตนให้เต็มตาม ศักยภาพ
ความต้องการการยกย่องนับถือ
ความต้องการความรักและเป็นส่วน หนึ่งของกลุ่ม
ความต้องการความปลอดภัยจากภยันตรายต่าง ๆ
ความต้องการปัจจัย 4 ทางกายภาพ
หลักหลักการคิดของมนุษย
กระบวนการคิดในระดับสากล (Universal Mental Program)
เป็นกระบวนการคิดที่เป็นไปโดยธรรมชาติ
กระบวนการคิดในระดับกลุ่ม (Collective Mental Program)
เป็นกระบวนการคิดที่สมาชิกในกลุ่มหรือสังคมเดียวกันคิดคล้ายกัน
กระบวนการคิดในระดับบุคคล (Individual Mental Program)
เป็นความแตกต่างระดับบุคคลที่มาจากพันธุกรรมที่ต่างกัน การเลี้ยงดูที่ ต่างกัน สภาพแวดล้อมที่ต่างกัน
หลักความแตกต่างระหว่างบุคคลของมนุษย์
หลักความแตกต่างระหว่างบุคคลของมนุษย์
บุคคลแต่ละคนมีความแตกต่างกันทางด้านร่างกาย เช่นเพศอายุรูปร่าง หน้าตา สีผม สีผิว ความสมบูรณ์ ความบกพร่องของร่างกาย ซึ่งส่งผลต่อการเรียนรู้
ความแตกต่างทางด้านอารมณ์
อารมณ์เป็นปฏิกิริยาของบุคคลต่อ สิ่งที่มากระตุ้น อาจมาจากภายใน หรือภายนอกของบุคคลเอง มี อิทธิพลต่อการกระทำและการแสดง พฤติกรรมต่าง ๆ ของบุคคล
ความแตกต่างทางด้านสังคม
บุคคลที่อยู่ในสิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่ต่างกัน มีลักษณะทางบุคลิกภาพและ พฤติกรรมแตกต่างกัน เช่น ทัศนคติความเชื่อ ความสนใจ แรงจูงใจและลักษณะอื่น ๆ อัน ส่งผลต่อการเรียนรู้
ความแตกต่างทางด้านสติปัญญา
ความสามารถทางสติปัญญาเป็นตัวแปรสำคัญที่ ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการเรียนรู้ของบุคคล ระดับสติปัญญาของคนเรามีความแตกต่างกัน ในการจัดการศึกษาใดๆ ก็ตาม ย่อมต้อง คำนึงถึงผู้เรียนที่มีสติปัญญาแตกต่างกัน
หลักการรับรู้เพื่อการเป็นพลเมือง
การเรียนเพื่อรู้(learning to know)
เป็นการวางรากฐานที่มั่นคงสำหรับให้บุคคล ที่แสวงหา ความรู้อยู่ตลอดเวลา เป็นการเรียนรู้ที่เน้นการรวมความรู้สำคัญเข้า ด้วยกัน
การเรียนรู้เพื่อปฏิบัติ(learning to do)
เป็นการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาทักษะและ ศักยภาพของ ผู้เรียน ช่วยสร้างความสามารถในการด ารงชีพอยู่ในสถานการณ์ ต่าง ๆ ให้ผู้เรียนมีโอกาสและมีส่วนร่วมใน การพัฒนาความสามารถ ประสบการณ์ในงานอาชีพหรืองานทางสังคม
การเรียนรู้เพื่อชีวิต(learning to be)
เป็นการเรียนรู้ที่เน้นให้บุคคลสามารถพัฒนา คุณภาพชีวิต ทุกด้านและสามารถปรับตัวให้อยู่ในสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วได้อย่างมีความสุข
การเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกัน (learning to live together)
เป็นการเรียนรู้ที่เน้นให้ สามารถด ารง ชีวิตอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติมีความรักและเคารพซึ่งกันและกัน สร้างความรู้ความเข้าใจในผู้อื่นทั้งแง่ ประวัติศาสตร์ธรรมเนียมประเพณีค่านิยม ทางจิตใจ
พลเมืองที่ดีกับทักษะสำคัญในศตวรรษที่ 21
3R
Reading (อ่านออก),
(W)Riting (เขียนได้),
(A)Rithemetics (คิดเลขเป็น)
7C
Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา)
Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ)
Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ)
Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)
Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้)
นาย นวมินทร์ พันธางกูร 6210110162
วิศวกรรมเมคาทรอนิกส์ ปี 4