Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนวันที่ 20 กรกฎาคม 2565, นางสาวอนัญญา เทพวงค์ ปี 4 62126301088…
สรุปการเรียนวันที่ 20 กรกฎาคม 2565
Acute Abdominal pain
definition
เป็นมาเรื้อรังไม่เกิน 3 wks.
ปวดรุนแรง ทันทีทันใด
เป็นมา > 24 hrs.
ประเภท
1.Acute abdomen (Surgical abdomen)
ประเมิน
ประเมินเบื้องต้น แยกกลุ่ม emerency condition
TRUAMA VS NON TRUMA ?
Surgical abdomen VS Non surgical abdomen ?
ควรพิจารณาให้นอนโรงพยาบาลเพื/อทําการตรวจละเอียดเพิ่มเติม
หาสาเหตุโรค
รายงานแพทย์ และปรึกษาศัลยแพทย์ หรือส่งต่อไป โรงพยาบาลที่
ประสิทธิสูงกว่า
Pathophysiology
1.Visceral pain
2.Somatic pain
-Peritonism
3.Referred pain
-Ureteric stone
-pyelonephritis
-Acutecholecystits
Definition
1.Colicหรือ Clicky pain ปวด จีeดๆ หรือ ปวด บิดๆ เป็นพักๆ จากเบาไปแรง
2.Peritonism Localise inflammation peritoneum ปวดเฉพาะจุด หน้าท้องแข็งเกร็ง กดสะดุ้งจาก rebound tender
Peritonitis
คนไข้กลุ่มนี้มักจะอยู่นิ่งๆ เพราะยิ่งขยับยิ่งปวด
Tachycardia ชีพจร เบาเร็ว
rigid abdomen กด-ปล่อย ปวด เคาะปวด
Involuntary guarding หน้าท้องแข็งเกร็ง
Reduced or absent bowel เสียงขยับตัวลําไส้ลดลง หรือหายไป
การซักประวัติ
1.Time/onset นานไหม เมื่อไหร่
2.Character/Pattern พักๆ ตลอดเวลา ร้าวไปไหนไหม
3.Position
4.Factor
5.Associated symptom คลื่นไส้ อาเจียนท้องเสีย
6.Underlying disease/Gynecology history
7.Medication เช่น nsaid steroid ARV
การตรวจร่างกาย
สภาพทั่วไป
เหลือง ซีด
ขาดอาหาร
ต่อมเหลืองโต
ตัวบวม กดบุ๋ม
การตรวจร่างกายในระบบช่องท้อง
Vital sign
การตรวจ abdominal sign
ดู
แผลผ่าตัดหน้าท้อง,
คลำ,เคาะ
ลักษณะก้อน ตำแหน่งปวด,
ฟัง
bowel sound
การตรวจเพิ่มเติมภายใน การตรวจหาลักษณะของการตั้วครรภ์ (PV:pelvic examination)
, การตรวจทางทรารหนัก (per rectal examination:PR)
การตรวจหาอาการแสดงเฉพาะ (special signs)
Murphy’s sign
Psoas sign
Obturator sign
Rovsing sign
Cough test
สาเหตุ
การแตกทะลุของอวัยวะท่อกลวงในช่องท้อง
trauma
pancreatitis
SBP ในcirrhosis
Infect จาก peritoneal dialysis
Rx.
Retain NG
Foley cath
Load Fluid Resuscitation
เฝ้าระวัง AKI
ส่งตรวจ lab Pre-op เพื่อเตรียมผ่าตัด
CBC Coagulopathy Electrolyte BUN Cr
CXR EKG
ให้ยา ATB pre-op prophylaxis
ให้ยา pain control
ให้ยากลุ่ม proton pump หลังผ่าตัด
Cirrhosis finding
Investigation
1.CBC
2.UA
3.Stool Exam
4.Serum Amylase Lipase
5.Urine Amylase
6.LFT
7.Bun Cr
8.Blood Sugar
9.Tumer Marker CEA AFP CA19-9 CA 125
ข้อจํากัดของการตรวจท้อง
บริเวณที่กดเจ็บอาจจะไม่ใช่ตําแหน่งของโรคนั้นๆ
Sign of peritonism อาจจะไม่ปรากฏในผู้ป่วยบางกลุ่ม
Initial Management
1.Admit
2.IV resusitation
3.NG decomprssion
4.Retain foley cath i/o
5.Pre-op Lab
6.ECG CXR
7.ATB prophylaxis
8.Consult specialist pre-op and surgeon or refer
9.ยาแก้ปวดและยาแก้อาเจียน
การรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล
ได้รับการวินิจฉัยแน่ชัดและจะต้องให้การรักษาแบบผู้ป่วยใน
ระดับการรับรู้หรือรู้สึกตัวลดลง
ผู้ป่วยเด็ก สตรีมีครรภ์ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันต่ำ และผู้ป่วยที่ยังไม่ได้รับการวินิจฉัยที่ชัดเจน
สงสัยเป็นผู้ป่วยที่มีโอกาสเป็นโรคทีJอันตราย
ผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาเบื้องต้น
ผู้ป่วยไม่สามารถที่จะปฏิบัติตามคําแนะนําได้หรือผู้ที่ด้อยโอกาสทางสังคม
ผู้ป่วยที่มาตรวจซ้ำด้วยอาการเดิม (Revisit)
Key point
1.Vital sign
อย่าลืมคิดถึง และถามเมื่อเห็นคนไข้ Critical case ?
3.Routine lab and acute abdomen series In Equivocal case
4.ประวัติการรักษาก่อนหน้า และโรคประจําตัว และยาสําคัญเสมอ
5.Surgical abdomen ?
Urgency to Emergency
Bleeding
AAA
Pulsatine mass หรือมีประวัติโรคหลอดเลือดกรรมพันธุ์ในครอบครัวหรือโรคหัวใจผิดปกติแต่กําเนิด
อายุน้อย มักมีประวัติครอบครัว
อายุเยอะ มักจะมีประวัติสูบบุหรือเรื้อรัง
Keyword
ปวดท้องฉับพลัน
อายุเยอะ
BP Drop
Fast positive ไม่มีประวัติ trauma นำ
เปลือกตาซีด Hct Drop
สิ่งที่ต้องรู้
Stable Vs unstable ?
Unstable รีบ Resuscitation รายงานศัลยแพทย์หรือ CVT
Stable เตรียม Confirm Dx CTA Chest + whole abdomen
ช่วย resuscitation
ใส่ NG Foley ดู I/o
เตรียมเลือด
ให้ยา pain control
Rupture ectopic
ตรวจร่างกาย
จะพบอาการปวดท้อง แบบ pelvic peritonitis
พบ Cervix motion tenderness ร่วม
-ไม่ตกขาว หรือตกขาวน้อย ไม่มีไข้
เปลือกตา ซีดจากการเสียเลือด
อาจจะมี อาการกลุ่ม hypovolemic shock
Keyword
ปวดท้อง มากโดยเฉพาะท้องน้อย ใน หญิงวัยเจริญพันธ์
รอบเดือนผิดปกติ ขาดๆ หายๆ หรือมามากกว่าปกติ
ร่วมกับเปลือกตาซีด และ shock
จุดที่ต้องระวัง
UPT negative ก็สามารถพบใน Ectopic pregnancy ได้
GI Bleed
UGIB VS LGIB
UGIB จากกลุ่ม Peptic ulcer ปวดท้องที่ epigastrium หรือ RUQ ร่วมกับถ่ายมี melena หรืออาเจียนเป็น coffee ground
LGIB จากกลุ่ม Diverticulosis/Diverticulitis VS Angiodysplasia
Diverticulosis/Diverticulitis พบในผู้สูงอายุมากกว่า ปวดท้องน้อยด้านซ้าย มีประวัติท้องผูกบ่อย
Angiodysplasia พบในกลุ่มอายุน้อยกว่า อาการปวดไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับจุดของลําไส้ใหญ่ที่เป็นปัญหา แต่ก็พบบ่อยๆ ที่ท้องน้อยด้านซ้ายหรือด้านขวา
แนวทางการดูแลเบื้องต้น
ทําการ resuscitation ในกลุ่มผู้ป่วย unstable
เจาะ CBC Coagulopathy
G/M PRC FFP Platelet
ใส่ NG ,Foley Record I/O
Rupture HCC
มักพบในกลุ่มผู้ป่วยสูงอายุ มากกว่า แต่ก็พบได้ในช่วง 50 ปีขึ้นไป
พบในชายมากกว่าหญิง เนื่องจากผช.ดื่มเหล้ามากกว่าผญ.
มีประวัติ เป็นตับอักเสบเรืIองรัง ทัIง Hepatitis B C
อาจจะมีตาเหลืองและกลุ่ม cirrhosis sign
Ischaemic Bowel
severe pain out of proportion to the clinical signs
พบในผู้สูงอาย
คนที่เคยผ่าตัดมาก่อน (Gut obstruction)
มีความผิดปกติจากโรคประจําตัว เกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด
กลุ่มโรคหัวใจเต้น
ผิดจังหวะ (AF)
มีโรค (DVT),Stroke หรือ โรคปอดกลุ่ม (PE)
แนวทางการรักษา
ต้องทําการผ่าตัดรักษาตัดต่อลําไส้ส่วนที่เป็นปัญหา อาจจะต้องเปิดลําไส้ทางหน้าท้อง colostomy
ถ้าเป็นจุดที่ต่อไส้ไม่ได้
( Large bowel lesion)
การเตรียมผู้ป่วย
NPO
ปรึกษาอายุรแพทย์ ก่อนผ่าตัด
จอง ICU, จองเลือด
คุย prognosis โรคเป็นกลุ่มเสี่ยงสูง
2.Abdominal trauma or Abdominal injury
Bowel obstruction ลำไส้อุดตัน
การซักประวัติ
1.ไม่ถ่าย ไม่ผายลม มากี่วัน
2.มีประวัติ ถ่ายลำเล็กลงไหม Bowel habbit change น้ำหนักลด
3.GI symptom
4.อาการไข้
5.อาการร่วม ปวดท้อง จุดกดเจ็บ ?
6.โรคประจำตัว ยาที่ใช้ประจำ
7.การผ่าตัดก่อนหน้า
1 more item...
การตรวจ
Vital sign
Abdominal sign
ก้อน
Bowel sound
peritonitis sign จุดกดเจ็บ เฉพาะ/ทั่ว ?
surgical scar
PR
ก้อน ใน/นอก ลำไส้
อุจจาระ สี/เลือด
การพยาบาล
งดน้ำงดอาหาร
ให้ hydration +/- Fluid resuscitation ประเมินสภาวะขาดน้ำเกลือแร่
Complete lab +/- pre-operation
ปรึกษาอายุรแพทยt เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการผ่าตัด
พิจารณา ให้ ATB ในรายที่แสดงถึง bacterial infection
ใส่ NG เพื่อ Therapetic decompression
ใส่ foley catheter
พิจารณา จองเลือด +/- ICU
ให้ข้อมูลญาติและผู้ป่วย
ประเมินที่สำคัญ/ใช้ในการส่งเวร
Abdominal sign เฝ้าระวัง peritonitis
ให้ยาแก้อาเจียน และยาบรรเทาอาการปวดท้องชนิดไม่รุนแรงมากเพื่อติดตามดูอาการทางหน้าท้องได้
ติดตาม vital sign
ติดตาม Urine output เฝ้าระวัง AK
ติดตามปริมาณ น้ำที่ออกจาก NG รวมถึงดูสี และติดตามดูว่า สาย NG ทำงานหรือไม่
การถ่าย และการผายลม สีอุจจาระมีเลือดปน?
Gastrointestinal bleeding
Upper Gastrointestinal Bleeding
ภาวะเลือดออกทางเดินอาหารส่วนบน นับตั้งแต่ปากจนถึง ligament of Treitz
UGIB พบมากกว่า LGIB 4 เท่า
พบในชายมากกว่าหญิง
ประวัติที่ควรถาม
อาการที่มาเลือดที่ออกมา เลือดสด, สี , ปริมาณ เวลา
ช่องทาง อาเจียน ไอ หรือ ถ่าย
อาการร่วม ไข้ ตัวตาเหลือง คัน บวม ปัสสาวะไม่ออก อาการเจ็บหน้าอก
โรคประจำตัว หัวใจ/ตับ/ไต
ยาที่ใช้ก่อนหน้า
ปัจจัยกระตุ้น
ปัสสาวะครั้งสุดท้าย สีเข้มไหม
กินข้าวกินน้ำครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่ (เพื่อผ่าตัดด่วน)
การดูแลเบื้องต้น
1.การประเมินเบื้องต้น (Initial Assessment)
2.การแก้ไขภาวะวิกฤติเบื้องต้น (Initial Resuscitation)
3.การดูแลภาวะวิกฤติ, เฝ้าระวังและหาตําแหน่งของเลือดออก (Critical care,monitoring, and identification source of
bleeding)
4.การให้การวินิจฉัยและรักษาเฉพาะเจาะจง(Definite diagnosis and management)
Gastrointestinal Hemorrhage ภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร
Trick แนวทางปฏิบัติประเมินผู้ป่วยเบื้องต้น
เป็น gastrointestinal bleeding จริงหรือไม่
เป็น upper หรือ Lower
Variceal or non variceal cause
Vital sign stable
Active Bleeding
Co-morbid disease
Past history medication
การดูแลรักษา
เติมเลือดในกรณีที่ระดับ hemoglobin < 7 g/dl เท่านั้น (Hct < 24 %) และถ้ายังมี active bleeding ร่วมกับภาวะ hypovolemic shock
Resuscitation ให้ในผู้ป่วยทุกราย เพื่อดูปริมาณปัสสาวะต่อชั่วโมง ซึ่งปริมาณควรเป็น 0.5 มล.ต่อชั่วโมงเป็นอย่างน้อย
มีโรคร่วมทางระบบหัวใจ โรคไตหรือโรคตับ แนะนําให้มีการ monitor ผู้ป่วยเพิ่มเติมด้วยการดู central venous pressure
Medication treatment
- Non variceal
High dose omeprazole 40 mg iv ทุก 12 ชม 3-5 วัน หรือ80 mg iv. Push and Drip Proton pump inhibitor 8 mg/hr. (keep PH <6.0)
- Variceal
ห้ Somatostatin or Somatostatin analoque (Octreotide) 50 microgram/ hr. ให้ 3-5 วัน
Lower Gastrointestinal Bleeding
สาเหตุ
anatomical cause เช่น diverticulosis
vascular cause เช่น angiodysplasia, ischemic, radiation-induced
inflammatory cause เช่น infectious, idiopathic
neoplastic
การซักประวัติ
โรคร่วม เช่น cirrhosis
ยาที่ใช้ alcohol
อาการร่วม ปวดท้อง น้ำหนักลด ถ่ายเป็นมูก ท้องผูกเรื้อรัง
การผ่าตัด/หัตถการก่อนหน้า
การตรวจร่างกาย
Vital sign
ทั่วไป เช่น cirrhosis sign, Surgical scar
Abdominal sign
PR +/- proctoscope
Investigation
Colonscope ทําการรักษาได้ หรือ biopsy แต่ใน emerency case ต้องระวัง bowel perforation
CTA
Angiogram ปัจจุบันนิยมทํา CTA มากกว่า
Rbc scan
Limited BE ในกรณีมะเร็ง หรือ diverticulum ซึ่งมักทําใน elective case ที่ข้อจํากัดจากวิธีอื่น
Angiodysplasia
พบในคนสูงอายุ โดยเฉพาะ > 60 ปี
ผ่าตัดเมื่อ V/s unstable or massive bleeding
( > 4 unit / 24 ชม.)
การดูแลรักษา
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดูแลสุขภาพ ทานผักผลไม้ เพิ่มการดื่มน้ำ
ใช้ยาระบายอ่อนๆ
Stool softenner ใน anal fissure (Fibro-gel, mucillin)
Flavonoid drug ใน hemorrhoid ( Daflon,เพชรสังฆาต )
Pain control
Warm sit bath
Appendicitis
incidence
Appendicitis เป็นสาเหตุของอาการปวดท้อง ชนิดฉับพลับ ที่พบบ่อยในผู้ป่วยทางด้าน
พบบ่อย ในช่วงอายุ MN-PNปี โดยพบมากในช่วง QN ปี
Alvarado score
1-4 score --> Discharge
5-6 score --> Observation / Admission
7-10 score --> Surgery
ปัจจัยที่มีผลต่อ Rupture appendicitis
อายุ อายุมาก หรือ น้อย
ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง 1.97 เท่า
สภาพร่างกาย อ้วน ตั้งครรภ์
ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มมีอาการ
ปัจจัยที่บ่งชี้ถึงการเกิด Rupture appendicitis
ไข้สูง
37.8-37.9 ํC 2.12 เท่า
มากกว่า 38.9 ํC 4.6 เท่า
PMN > 90% 3.15 เท่า เทียบเท่า 75%
Tachycardia
Appendicitis in children
Presentation อาการเหมือนกับผู้ใหญ่
อายุ < 5 ปี
Negative appendectomy 25%
Rupture appendicitis 45%
CBC บางส่วนไม่สัมพันธ์กัน เช่น WBC ไม่สูง หรือ PMN ไม่เด่น
Appendicitis in pregnancy
พบอัตรา ส่วน 1:2000
Risk Rupture appendicitis 57% เพิ่มสูงขึ้นตามอายุครรภ์
วินิจฉัยยาก
หน้าท้องหนา
อาการปวดไม่ชัด มีอาการแพ้ท้องร่วม
Leucocytosis wbc > 14000
Ultrasound ประเมิณยากยิ่งขึ้น
Appendicitis in Elderly
Incidence 5-10% ในคนอายุมากกว่า 60 ปี
Rupture appendicits 40-65%
Morbid mortarity มากกว่าวัยอื่น
WBC ช่วยประเมินได้ยาก พบว่า ผู้ป่วยสูงอายุที่เป็น appendicitis ผลเลือด เป็น leukopenia (WBC < 4000cell/mm)
ในบางราย peritonitis sign จากการตรวจหน้าท้องไม่ชัดเพราะกล้ามเนื้อไม่แข็งแรง
Clinical diagnosis
ปวดท้อง --> ตำแหน่งที่ปวด
Typical abdominal pain พบเพียง 25%
Periumbilical pain ปวดทั่วๆ บอกตำแหน่งไม่ได้ชัดเจน มักเป็นรอบสะดือ ตลอดเวลาแต่อาจปวดเป็นพักได้
Migratory pain to RLQ หลังจากนั้น 6-10 ชั่วโมงจะย้ายมาปวดที่ท้องน้อยด้านขวา
การเคลื่อนไหวไอจาม จะทำให้ปวดมากขึ้น ผู้ป่วยมักอยู่นิ่งๆ
เมื่อมีการแตกของไส้ติ่ง อาจปวดคลำได้ก้อนที่ท้องน้อยด้านขวาหรือปวดกระจายทั่วท้อง
อาการร่วม
เบื่ออาหาร 74-78%
คลื่นไส้ 61-92%
อาเจียน 50%
ท้องเสีย พบเป็นบางรายมักเกิิดหลังจากไส้ติ่งแตกทะลุ
อาจมีไข้ต่ำๆกรณีที่มีไข้สูงอาจบอกมีการแตกของไส้ติ่งแล้ว
Physical examination
Low grade fever
Abdominal examination
RLQ tenderness
Rebound tenderness
Guarding
Roving sign : กด LLQ ปวด RLQ
Dunphy's sign : ไอปวด
Obturator sign : pelvic append
การลงแผลผ่าตัด
Midline incision ทำในรายที่เป็น rupture appendicitis
การล้างท้องในไส้ติ่งอักเสบ ทำเฉพาะในรายที่ไส้ติ่งแตก และเปิดแผลแบบ midline
การพยาบาล
ก่อนการผ่าตัด
งดน้ำงดอาหารก่อนการผ่าตัด น้ำ อย่างน3อย 4 ชม. ข้าว อย่างน้อย 6 ชม.
เตรียม pre-op lab - CBC Electrolyte Coagulopathy - CXR EKG
ปรึกษาอายุรแพทย์ในกลุ่มผู้ป่วย High risk
IV hydration
ให้ antibiotic prophylaxis (กลุ่ม gram negative และ anarobic)
ให้ยาบรรเทาอาการปวด
หลังผ่าตัด
งดน้ำงดอาหารช่วงแรก เพื่อป้องกัน aspiration จากผลข้างเคียงในการระงับความรู้สึก
กรณี spinal block ถ้าไม่ปัสสาวะใน 6 ชม. ใส่สายสวนปัสสาวะ
ให้ antibiotics ต่อในกลุ่ม complication
ให้ยาบรรเทาอาการปวด และยาแก้อาเจียน
กระตุ้น ambulation หลังผ่าตัดวันแรก
ทำแผล
ตัดไหม 7-10 วันหลังผ่าตัด
ทำแผลด้วย wet dressing
Delay primary suture จะเย็บซ้ำ 3-5 วันหลังผ่าตัด
Care Drain ในรายที่มีrupture appendicitis
งดกิจกรรมหนักหลัง ผ่าตัด 3 เดือน
Biliary tract disease
Biliary colic หรือ Symptomatic gall stone
Hx.
ปวดบิดหลังทานอาหารประมาณ 30 นาที ปวดใต้ชายโครงขวา ไม่มีไข้ ไม่มีตัวตาเหลือง
Risk
การทานอาหารมัน
กลุ่มโรคเลือดธาลัสซีเมีย
ผู้หญิงท้อง,อ้วน
เบาหวาน
มีประวัติน้ำหนักลดรวดเร็ว
การรักษา
รักษาตามอาการ ด้วยการให้ยารักษากลุ่มเดียวกับการรักษา dyspepsia รักษาตามอาการ และลดการทานของมัน
ผ่าตัดเมื่อ
มีอาการปวดท้องจนรบกวนชีวิตประจําวัน
ขนาดนิ่ว > 1.5 CM.
Gall stone induce pancreatitis
Mirizzi’s syndrome
อาการเหมือน cholecystitis ทั่วไป อาจเหลืองเล็กน้อย เป็นสาเหตุที่มักทําให้เกิด CBD injury จากการทํา LC
Acute cholecystitis
Hx.
ปวดท้องใต้ชายโครงขวาร้าวไปสะบักหลัง มีไข้ ไม่มีตัวตาเหลือง คลื่นไส้ อาเจียน
- Risk
gallstone
Exam RUQ pain หายใจแล้วเจ็บมากขึ้น
Murphy’s sign positive
u/s Finding gall stone, thick gall bladder wall 4 mm., pericholecystic fluid
การรักษา
NPO
IV. Hydration
ATB iv.
Pain control
พิจารณาผ่าตัดรักษา OC หรือ LC
เป็นมาไม่เกิน 72 ชม.
Elective หลัง 6 สัปดาห์
Complication cholecystitis เช่น Empyematous gall bladder
Acute cholangitis
Hx
ไข้ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดใต้ชายโครงขวา ตัวตาเหลือง ท้องอืด และปวดรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ (progressive pain)
Risk
CBD stone ,biliary duct stricture Malignancy
Exam
Charcot’s triage
Test
CBC LFT U/s CT MRCP ERCP
increase
WBC, AST, ALT, AP
increase
TB DB
u/s finding
+/-CBD stone
CBD dilated > 4 mm.
การวินิจฉัย
Finding u/s
Clinical + lab confirm
การรักษา
Npo
IV hydration
ATB (คลุมกลุ่มGram negative และ anarobic)
pain control
Drainage bile duct
ERCP or Surgery Explore CBD
ERCP
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดหลังทำ ERCP
ลำไส้เล็กทะลุ
เลือดออกจากการเปิดทางเดินน้ำดี
ตับอ่อนอักเสบ
ทางเดินน้ำดีอักเสบ ซ้ำ
Severe acute cholangitis (Toxic cholangits)
keyword
มี sign of organ damage
Cardiovascular dysfunction
Neurologic dysfunction
Respiratory dysfunction
Renal dysfunction
Hepatic dysfunction
Hematologic dysfuction
เป็นกลุ่มที่ต้องรีบให้ antibiotic และพิจารณาทำหัตถการการรักษาให้เร็วที่สุด ถ้าอาการคงที่เพียงพอ
Gall bladder polyp
วินิจฉัยโดยเห็นจาก u/s
ถ้าขนาด polyp < 6 mm. ตาม u/s ทุก U เดือน ถ้ามากกว่าพิจารณาผ่าตัด LC
กรณี > 1 cm. ให้พิจารณา CT ก่อนผ่าตัด
รักษาโดย conservative คล้าย symptomatic gall stone
Malignancy CA gall bladder, Cholangiocarcinoma
อาการ
ตัวตาเหลือง หรือปวดท้องเรื้อรังและตรวจพบก้อนที่ตับจาก imaging หรือบางรายมาด้วยอาการ ปวดท้องใต้ชายโครงขวา มีไข้ไม่ทราบสาเหตุเรื้อรัง เบื่ออาหารน้ำหนักลด
สาเหตุ
นิ้วในทางเดินน้ำดีเรื้อรัง
พยาธิใบไม้ในตับจากการทานปลาดิบ
โรคกรรมพันธุ์บางชนิด เช่น Caroli’s disease, primary sclerosing cholangitis
การวินิจฉัย
ด้วยการตรวจ imaging CT หรือ MRCP
ค่า AFP มักจะปกติและ CEA CA19-9 มักจะสูง
การรักษาหลักๆ
คือการผ่าตัด และจะขึ้นอยู่กับระยะโรคในกรณี ระยะสุดท้าย การรักษาหลักๆ จะเป็นกลุ่ม palliative surgery
Keyword ในการดูแลพยาบาลกลุ่มผู้ป่วยระบบทางเดินน้ำดี
1. ผู้ป่วยมีโอกาสสูญเสียเกลือแร่จากการอาเจียนมาก
ควรพิจารณาติดตามดูแลการให้ยาลดการอาเจียน และ อาจจะต้องรายงานแพทย์เพื่อส่งตรวจ electrolyte โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ซึม
2.การให้ยาบรรเทาอาการปวด
ผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดมาก ในกลุ่มที่มีทางเดินน้ำดีอุดตัน
3.ในผู้ป่วยหลังผ่าตัด ERCP มีภาวะแทรกซ้อน
จากลำไส้เล็กทะลุ หรือเลือดออก ถ้ามีอาการปวดอย่างรุนแรง และท้องอืด หรืออาเจียนเป็นเลือดหลังผ่าตัด ERCP รีบรายงานแพทย์
4.อาการตาเหลืองหลังผ่าตัดถุงน้ำและทางเดินน้ำดี
ร่วมกับมีภาวะท้องอืด ให้สงสัยภาวะทางเดินน้ำดีบาดเจ็บ ต้องรายงานแพทย์
5.ท้องอืดหลังการผ่าตัดส่องกล้องถุงน้ำดี
สามารถเกิดได้ โดยเฉพาะในรายมีการใช้แก๊ส ปริมาณค่อนข้างมาก แต่ถ้า 24-48 ชม. ควรคิดถึงโรคกลุ่มภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ และพิจารณา ใส่ NG เพืBอบรรเทาอาการ รวมถึงกระตุ้นผู้ป่วย ambulation
6.หลังผ่าตัดถุงน้ำดีทั่วไป ช่วงแรกจะงดน้ำงดอาหาร
แต่หลังจากตื่นดี วันแรกถ้าท้องไม่อืดมาก จะพิจารณา step diet ได้
7.กลุ่มผู้ป่วยที่เป็น Toxic cholangitis ทางเดินน้ำดีอักเสบ อาการจะค่อนข้างเร็วและรุนแรง
กว่าถุงน้ำดีอักเสบมาก และอาจเสียชีวิตได้ จากภาวะติดเชื้อในกระแสใน 24-48 ชม. หากไม่ได้รับการรักษาที่ทันท่วงที
นางสาวอนัญญา เทพวงค์ ปี 4 62126301088 เลขที่ 85