Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อวัยวะรับความรู้สึก - Coggle Diagram
อวัยวะรับความรู้สึก
ลิ้นกับการรับรถ
ลิ้นทำหน้าที่รับรส ด้านบนของลิ้นมีพาพิลลา (pamilla) ที่ประกอบด้วยตุ่มรับรส (taste bud) ซึ่งมีรับรส (taste cell)
-
-
-
จมูกกับการดมกลิ้น
จมูกสามารถรับกลิ่นต่างๆได้ เนื่องจากมีออลแฟกทอรีเมมเบรน (alfactory membrain) เป็นหน่วยรับความรู้สึกประเภทสารเคมี (chemoreceptor)
มีออลแฟกทอรีเซลล (olfactory cell) เป็นเซลล์รับความรู้สึกไวต่อ การรับกลิ่น มีเซลล์ประสาทรับกลิ่น (olfactory neuron) ทำหน้าที่ เปลี่ยนกลิ่นให้เป็นประสาท
จมูกยังเป็นทางผ่านของอากาศที่หายใจอยู่ตลอดเวลา ทำหน้าที่กรองอากาศ ปรับอุณหภูมิและความชื้นของอากาศก่อนเข้าปอด
หูกับการได้ยิ้น
หูส่วนนอก
ประกอบด้วยใบหู (pinna) เป็นกระดูกอ่อนที่สามารถพับงอได้เอง ทำหน้าที่รับและรวมคลื่นเสียงส่งผ่านเข้าสู่รูหู (audtony canal)
ภายในรูหูมีขนและต่อมสร้างไขมันหรือต่อมสร้างขี้หู (ceruminous gland) ช่วยเคลือบรูหู ทำให้เกิดความชุ่มชื้น ป้องกันแมลง ฝุ่นละออง และเชื้อโรค
หูส่วนกลาง
-
ประกอบด้วยกระดูก 3 ชั้น ได้แก่ กระดูกอ่อน (melleus) กระดูกทั่ง (incus) และกระดูกโกลน (stapes) ยึดติดกัน ทำหน้าที่ขยายการสั่นสะเทือนของคลื่นเสียงและส่งเข้าสู่หูส่วนใน
หูส่วนกลางติดต่อกับโพรงจมูกและมีท่อยูสเตเชียน (Eustachian tube) ติดต่อกับคอหอย ทำหน้าที่ปรับความดันภายในหูส่วนกลางกับภายนอกให้เท่ากัน หากความดันของ 2 ตำแหน่งแตกต่างกัน จะทำให้หูอื้อหรือปวดหู
หูส่วนใน
ชุดที่ใช้ฟังเสียง ประกอบด้วยคอเคลีย (cochiea) มีลักษณะเป็นท่อกลมขเซ้อนกันเป็นรูปก้นหอย ภายในบรรจุของเหลวอยู่ เมื่อมีคลื่นเสียงผ่านเข้ามาจะทำให้เกิดการสั่นของเหลวในคอเคลียและเปลี่ยนสัญญาณเสียงเป็นกระแสประสาทส่งไปยังเส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 เพื่อเข้าสู่สมองส่วนเซรีบรัม
ชุดที่ใช้ในการทรงตัว อยู๋ด้านหลังของหูส่วนในทำหน้าที่รับรู้เกี่ยวกับการทรงตัวของร่างกาย การเอียงและการหมุนของศรีษะ ประกอบด้วย เซมิเซอร์คิวลาร์แคแนล (semicircular canal) ภายในมีของเหลวบรรจุอยู่โดยหลอดพองออกเรียกว่า แอมพูลล่า (ampulla) ภายในมีเซลล์ขนทำหน้าที่รับความรู้สึกซึ่งไวต่อการไหลของเหลวภายใน
เซลล์รูปกรวยที่พบในชั้นเรตินา แบ่งออกเป็น 3 ชนิดตามความไวต่อช่วงคลื่นแสง
-
-
-
ผัวหนังกับการความรู้สึก
-
แต่ละบริเวณมีจำนวนเซลล์รับความรู้สึกแตกต่างกัน ทำให้รับความรู้สึกได้มากน้อยแตกต่างกันและไวต่อการกระตุ้นในรูปแบบที่ต่างกัน
ตากับการมองเห็น
-
โครงสร้างตา
-
โครอยด์ (choroid) ชั้นของตาที่มีหลอดเลือดมาหล่อเลี้ยงและมีสารสีกระจายอยู่จำนวนมาก ด้านหน้าของโครอยด์มีเลนส์ตา (lens) ที่เป็นเลนส์นูนเพื่อป้องกันไม่ให้แสงทะลุผ่านเรตินาไปยังด้านหลังของตาได้โดยตรง
เรตินา (retina) บริเวณที่มีเซลล์แสง ประกอบด้วยเลนส์ 2 ชนิด คือ เซลล์รูปแท่ง (rod cell) ซึ่งมีความไวในการรับแสงมาก แต่ไม่สามารถแยกความแตกต่างของสีได้ เซลล์รูปกรวย (cone cell) สามารถแยกความแตกต่างของสีได้ แต่ต้องการแสงสว่างที่เพียงพอ บางบริเวณจะมีเซลล์รูปกรวยมากวว่า เรียกบริเวณนั้นว่า โฟเวีย (fovea) ซึ่งแสงที่ตกบริเวณนี้จะเกิดภาพชัดเจน แต่บางบริเวณไม่มีเซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวยอยู่เลย เรียกว่า จุดบอด (blind spot) ซึ่งแสงที่ตกบริเวณนี้จะไม่มีภาพเกิดขึ้น
การหักเหของแสงขึ้นอยู่กับความโค้งของกระจกตาและเลนส์ตา ปกติความโค้งของกระจกตาจะคงที่เสมอ ส่วนความโค้งของเลนส์ตาจะเปลี่ยนแปลงได้โดยการทำงานยึดเลนส์ (cillary muscle) การหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อยึดเลนส์มีผลทำให้เอ็นยึดเลนส์หย่อนและตึงได้
กล้ามเนื้อยึดเลนส์หดตัว เอ็นยึดเลนส์จะหย่อนลง ทำให้เลนส์โป่งออก ผิวของเลนส์โค้งนูนขึ้น ทำให้จุดโฟกัสใกล้เลนส์มากขึ้น เหมาะกับการมองภาพในระยะใกล้
กล้ามเนื้อยึดเลนส์คลายตัว เอ็นยึดเลนส์จะตึง เลนส์จะโค้งนูนน้อยลงทำให้จุดโฟกัสอยู่ในเลนส์ เหมาะกับการมองภาพในระยะไกล
การมองเห็นภาพเป็นกลไกที่เกิดจากสารโรดอพซิน (rhodopsopin) ที่ฝังตัวอยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รูปแท่ง โรคอพซินประกอบด้วย โปรตีนออพซิน (opsin) กับสารเรตินอล (retinol) ซึ่งไวต่อแสง
-
กลไกการทำงานของระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกมีความสัมพันธ์กัน
-
สิ่งมีชีวิตรับความรู้สึกที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมภายนอกผ่านอวัยวะรับความรู้สึก (sense organ) และส่งกระแสประสาทไปยังสมองเพื่อแปลผลและตอบสนอง
-