Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กและวัยรุ่นเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล,…
แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กและวัยรุ่นเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การดูแลเด็กที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
Family-centered Care
รูปแบบการดูแลที่เน้นตัวเด็กและให้ครอบครัวดูแลเด็กมากที่สุด
องค์ประกอบของการดูแลเด็กป่วย
เน้นถึงความสำคัญว่าครอบครัวเป็นหน่อยรับผิดชอบ
บุคลากรในวิชาชีพมีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนความคิด ความรู้แหละปฏิบัติ
แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างครอบครัวและบุคลากรในวิชาชีพไม่อคติและเห็นใจ
กำหนดเป็นนโยบายและแนวทางปฏิบัติ
ตะหนักและยอมรับความแตกต่างแต่ละครอบครัว
ผลของการดูแลเด็ก
รู้สึกมั่นใจและมีความสามารถ
พึ่งพาบุคลากรวิชาชีพลดลง
ค่าใช้จ่ายสุขภาพลดลง
บุคลากรสุขภาพพึงพอใจในงาน
ครอบครัวและบุคลากรเพิ่มพลังอำนาจซึ่งกันและกัน
กลยุทธ์ในการเสริมสร้าง
อนุญาตใหผู้ปกครองเฝ้าเด็กได้
ให้ข้อมูลสร้างความคุ้นเคย เช่น การแนะนำสถานที่
ผู้ปกครองรับรู้อาการและมีส่วนร่วมในการดูแล
ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทาง
ให้เด็กได้ติดต่อผู้ปกครองที่ไม่สามารถมาเยี่ยมได้
มีการวางแผนจำหน่าย
บทบาทพยาบาล
ส่งเสริมความสามารถของครอบครัว
แลกเปลี่ยนความรู้ทักษะและทรัพยากรกับครอบครัว
เสริมสร้างพลังอำนาจแก่ครอบครัวในการดำรงรักษา
สร้างความสัมพันธ์กับผู้ปกครองแบบหุ้นส่วน
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นระยะเฉียบพลันและวิกฤต
แนวคิด
ดูแลเด็กให้ทุเลาลงฟื้นหายจากการเจ็บป่วยและให้คำแนะนำ
ปฏิกิริยาเมื่อเจ็บป่วย
การแสดงออกทางด้านร่างกาย
หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง เป็นต้น
การแสดงออกทางด้านอารมณ์
กลัว วิตกกังวล ก้าวร้าว เป็นต้น
ผลกระทบด้านจิตสังคมเด็กในโรงพยาบาล
ต่อเด็ก เช่น นอนฝันร้าย ซนมากขึ้น
ต่อครอบครัว เช่น ความเครียดที่ครอบครัวกำลังเผชิญ
ต่อพี่น้องของเด็ก เช่น เครียด เหงา กลัว
การพยาบาล
ส่งเสริมให้เด็กได้เคลื่อนไหวอย่างอิสระ
คงไว้ซึ่งกิจวัตรประจำวันเด็กให้มากที่สุด
ส่งเสริมให้เป็นตัวของตัวเองมากสุด
ส่งเสริมความเข้าใจในการรับรู้และตัดสินใจ
ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
ความวิตกกังวลจากการพลัดพราก
พบในเด็ก6เดือน-3ปีและ3-5ปี
ระยะประท้วง
ร้องไห้คร่ำครวญ
ระยะหมดหวัง
นั่งเฉย ซึม
ระยะปฏิเสธ
ท่าทางมีความสุข
การพยาบาลวิตกกังวลจากการแยกจาก
ระยะประท้วง
ให้บิดามารดามีส่วนร่วม
ระยะหมดหวัง
ปลอบโยนให้กำลังใจ
ระยะปฏิเสธ
จัดกิจกรรมให้เด็กเล่น
การจัดการความปวด
หลักกประเมินความเจ็บปวดและการดูแล
การวัดความเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
ชีพจรเร็วขึ้น เหงือออกที่ฝ่ามือ เป็นต้น
การวัดโดยการสังเกตเครื่องชี้วัดทางพฤติกรรม
การถอยหนี การร้องไห้ เป็นต้น
การวัดโดยคำบอกเล่า
เมื่อเจ็บเด็กจะพูดตามจริง
แบบประเมินความเจ็บปวดในเด็ก
Neonatal Infant Pain Scale 0-1 ปี 0-2คะแนน
The children’s Hospital of Eastern Ontario Pain Scale 1-5ปี 0-13คะแนน
Wong-Baker faces pain rating scale 3ปีขึ้นไป 0-5คะแนน
Self Record 6ปีขึ้นไป 0-10คะแนน
ใช้เทคนิคผ่อนคลายและให้ยา
ความเครียด
ตอบสนองทั้งด้านร่างกายจิตใจต่อสิ่งเร้าที่ไม่สามารถจดการสิ่งเร้าที่มากระทบได้ เช่น นอนไม่หลับ หงุดหงิด เป็นต้น
การพยาบาลระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์
รับรู้ต่อรูปร่างลักษณะ
การพยาบาล
ประเมินร่างกายจิตใจ
เข้าใจความรู้สึก
แนะแนวทางที่เหมาะสมไม่โกหกไม่ให้ความหวัง
ระยะสุดท้าย
ระยะช็อค
ตกใจ เสียใจ เป็นต้น
ระยะต่อรอง
หวังว่าจะปกติเหมือนเดิม ยืดเวลาตาย เป็นต้น
ระยะสับสน
ซึมเศร้า สิ้นหวัง เป็นต้น
ระยะยอมรับ
ยอมรับความจริง
การพยาบาล
สื่อสารกับผู้ป่วยและครอบครัว
ดูแลด้านร่างกาย
ดูแลด้านจิตใจ
ดูแลด้านจิตวิญญาณ
นางสาวชลนิภา กัมทอง
รหัสนักศึกษา634N46207