Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4การพยาบาลแบบองค์รวมตามอาการทางจิตที่สำคัญ - Coggle Diagram
หน่วยที่ 4การพยาบาลแบบองค์รวมตามอาการทางจิตที่สำคัญ
ความผิดปกติด้านความคิด
อาการหลงผิด (Delusion)
สาเหตุ
ด้านร่างกาย
การทำงานที่ผิดปกติของ Limbic
System and Basal Ganglia ในสมอง โดยเฉพาะสมองซีกซ้าย
ความผิดปกติของสารสื่อประสาทที่เกี่ยวข้อง คือ Dopamine Serotonin และ Nor-epinephrine
ด้านจิตใจ
ขาดการกระตุ้นหรือขาดความสนใจจากพ่อแม่ ความภาคภูมิใจในตนเองต่ำ
ด้านสังคม
การเลี้ยงดูในวัยเด็ก เลี้ยงดูอย่างไม่มีความสม่ำเสมอ เกิดความคิดสงสัย มองโลกในแง่ร้ายจนกลายเป็นความคิดหวาดระแวงและหลงผิด
ลักษณะทางคลินิก
อารมณ์
อาการหลงผิดคิดว่าตนเองเป็นผู้ยิ่งใหญ่ อาการหลงผิด คิดว่าจะมีคนมาปองร้าย มักขี้สงสัย
การรับรู้
อาการหลงผิดด้านร่างกายอาจมีประสาทหลอนเกี่ยวกับกลิ่นกาย
สภาวะแห่งตนและการตระหนักรู้
ผู้รับบริการไม่มีความผิดปกติของการรับรู้วัน
เวลา และสถานที่
ความคิด
หลงผิดคิดว่าถูกปองร้าย หรือติดเชื้อ
การควบคุมตนเอง
การฆ่าตัวตาย การฆ่าผู้อื่น หรือการก่อความรุนแรง
การตัดสินใจและการหยั่งรู้ตนเอง
ผู้รับบริการไม่มีความผิดปกติ
ความหมาย
ความคิดหรือความเชื่อที่ผิด ๆ ไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง แม่ว่าจะมีหลักฐาน ก็ไม่สามารถเปลี่ยนความคิดของคนๆนั้นได้
อาการในวัยผู้ใหญ่ตอนปลายระหว่างอายุ 40-55 ปี พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
กระบวนการวางแผนการพยาบาล
การประเมินปัญหา
การประเมินปัญหา
การปฏิบัติการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลตามข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ได้ตั้งไว้
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เช่น รู้สึกไม่ปลอดภัย จากความคิดหลงผิดว่าถูกปองร้าย
การประเมินผลการพยาบาล
ประเมินผลตามเกณฑ์ทางการพยาบาลที่กำหนดไว้
อาการหวาดระแวง (Paranoid)
ความหมาย
ไม่ไว้วางใจ ไม่เชื่อใจผู้อื่น ระแวงสงสัยจนเกินเหตุ ส่งผลร้ายต่อบุคคลอื่น
สาเหตุ
การเลี้ยงดู ขาดความอบอุ่นและความรักในครอบครัว
ประสบการณ์ชีวิตประจำวัน เกิดการรับรู้ไปในทางร้าย รู้สึกถูกคุกคาม
พันธุกรรม
การได้รับสารพิษต่าง ๆ เช่น สุรา แอมเฟตามีน
การเจ็บป่วยด้วยโรคทางจิตเวช เช่น โรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง
ลักษณะทางคลินิก
การรับรู้
มักระแวง/มองผู้ใกล้ชิดว่าคิดแอบทำร้าย มีเจตนาร้าย ประสงค์ร้าย คอย
คุกคาม ทำร้าย ทำอันตราย
การรับรู้
มีความรู้สึกสงสัย คลางแคลงใจ อิจฉาริษยา ขุ่นเคือง โกรธ ระแวดระวัง แบบไม่
เป็นมิตรตลอดเวลา อารมณ์อ่อนไหว
พฤติกรรม
มีท่าทีป้องกันตัวเองตลอดเวลา ไม่ไว้วางใจผู้อื่น สายตาระแวดระวัง ชอบแอบ
มองผู้อื่นด้วยความสงสัย
ประเภท
1) Simple Paranoid State
เป็นสภาวะหวาดระแวง ซึ่งมีความหลงผิดว่าตนถูกควบคุมบังคับ ถูกปองร้าย มีลักษณะแบบเฉียบพลันหรือแบบเรื้อรัง
2) Paranoid
เป็นความหวาดระแวงที่เป็นเรื่องราวเกิดขึ้นมาเป็นระยะเวลานาน ฝังแน่น โดยไม่มีอาการประสาทหลอนร่วมด้วย บุคลิกภาพและอารมณ์เป็นปกติ มักเกิดในวัยกลางคนและสูงอายุ มีชีวิตตามปกติ สามารถทำงานได้
3) Paraphrenia
เป็นอาการหวาดระแวงของจิตเภท (Paranoid Schizophrenia)
4) Induced Psychosis
เป็นอาการหวาดระแวงชนิดเรื้อรัง และไม่มีลักษณะชัดเจน
กระบวนการวางแผนการพยาบาล
กระบวนการวางแผนการพยาบาล
ประเมินอาการหวาดระแวงต่าง ๆ เช่น ไม่ไว้วางใจผู้อื่น อิจฉา /ประเมินบุคลิกภาพ ได้แก่ ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การทำงาน และความคิดบกพร่อง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เช่น กระบวนการคิดผิดปกติ/เปลี่ยนแปลงไป
การปฏิบัติการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลตามข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ได้ตั้งไว้
การประเมินผลการพยาบาล
ประเมินผลตามเกณฑ์ทางการพยาบาลที่กำหนดไว้
ความผิดปกติด้านพฤติกรรมและบุคลิกภาพ
พฤติกรรมแยกตัว /บุคลิกภาพแบบเก็บตัว (Withdraw Behavior/Schizoid Personality Disorder)
ความหมาย
ผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมแยกตนเองจากการพบปะติดต่อกับบุคคล
และความกดดันต่าง ๆ หนีจากสิ่งแวดล้อมและความเป็นจริงในชีวิต เพราะทนต่อปัญหาและความกังวลไม่ได้
ลักษณะทางคลินิก
ลักษณะเด่นของพฤติกรรมแยกตัว
1) Autistic Thinking ความคิดจะวกวนอยู่แต่เรื่องของตนเอง
2) Out of Reality อยู่ในโลกของความฝัน (Fantasy)
3) Impairment of Intelligent ความสามารถทางสติปัญญาเสื่อมลง
4) Inappropriate Mood อารมณ์จะราบเรียบ (Apathy)
5) การเคลื่อนไหวช้า ไม่กระฉับกระเฉง
6) ขาดความสนใจด้านการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
เกณฑ์การวินิจฉัยพฤติกรรมแยกตัว ต้องมีอาการและอาการ
แสดงอย่างน้อย 4 อาการต่อไปนี้ หรือมากกว่า
1) ไม่สนใจจะมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับผู้อื่น
2) ชอบทำกิจกรรมที่ต้องทำคนเดียว
3) ไม่มีความสนใจ ในเรื่องความสัมพันธ์ทางเพศกับผู้อื่น
4) มีกิจกรรมด้านความสนุกสนานน้อย
5) ไม่มีเพื่อนสนิทหรือมีน้อยมาก
6) ไม่สนใจในคำชม หรือคำวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่น
7) แสดงให้เห็นว่าอารมณ์เยือกเย็น อารมณ์ราบเรียบ ไม่มีอารมณ์ร่วมกับผู้อื่น
พฤติกรรมเจ้ากี้เจ้าการ (Manipulative Behavior)
ความหมาย
พฤติกรรมที่มีอิทธิพลควบคุมบุคคลอื่น โดยใช้อำนาจหรืออิทธิพลเหนือผู้อื่นให้ผู้อื่นทำตามความต้องการของตนเอง โดยไม่คำนึงถึงความต้องการของผู้อื่นมีผลทั้งในทางสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์ และมีผลในทางทำลาย
สาเหตุ
มีความวิตกกังวล ความต้องการไม่สมหวัง มีความต้องการโดยไม่คำนึงถึงความต้องการของผู้อื่น การปรับตัวไม่สมดุล โดยจะให้ผู้อื่นทำงานทุกอย่างแทนตนเอง ไม่ทำอะไรด้วยตนเองเพราะกลัวความล้มเหลว
ลักษณะเด่นของพฤติกรรม
1) ต่อต้านกระบวนการบำบัดรักษา พยายามหลีกเลี่ยงการเผชิญปัญหา
2) แสดงพฤติกรรมเรียกร้องความสนใจ
3) ขออภิสิทธิ์
4) ขัดขืน ขัดแย้ง ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ
5) ยุแหย่ ก่อเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจผิดกัน
6) ถ้าถูกจำกัดสิทธิ์หรือขัดใจ จะแสดงปฏิกิริยารุนแรง
7) ปฏิเสธความจริงที่เกิดขึ้น
กระบวนการวางแผนการพยาบาล
การประเมินสภาพ
สังเกตอาการทางคลินิกร่วมกับการ
สัมภาษณ์ประสบการณ์ชีวิต
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เช่น การเผชิญปัญหาไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากขาดความตระหนักรู้
การปฏิบัติการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลตามข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ได้ตั้งไว้
การประเมินผล
การประเมินผลควรประเมินจากปัญหา วิธีการเผชิญปัญหา การแสดงพฤติกรรมการปรับตัวที่มีประสิทธิภาพ และความร่วมมือในการรักษา
ความผิดปกติด้านการรับรู้
ประสาทหลอน (Hallucination)
ความหมาย
ความผิดปกติของการรับรู้โดยปราศจากสิ่งเร้าภายนอก เป็นไปตามอวัยวะรับรู้ของคนเรา ผ่านประสาทการรับรู้ทั้ง 5 แสดงออก ในเรื่องของ รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส
สาเหตุ
อาการประสาทหลอนอาจเกิดในคนปกติที่มีประสบการณ์การแยกตัว การรับรู้การเปลี่ยนแปลง เช่น ตาบอด หูไม่ได้ยิน หรือผู้ที่มีปัญหาด้านการพูด
ประสาทหูหลอน เป็นอาการที่ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด แต่อาจมีปัจจัยที่มีผลต่อประสาทหูหลอน ได้แก่ ความเครียด จากปัจจัยด้านชีววิทยา จิตวิทยา สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
อาการและอาการแสดง
มักอยู่คนเดียว นั่งและจ้องไปที่ใดที่หนึ่งโดยเฉพาะ ยิ้มและพูดกับตนเอง อาจมีอาการโกรธหรือทำร้ายผู้อื่น มีพฤติกรรมแปลก ๆ ผู้รับบริการเล่าเกี่ยวกับอาการประสาทหลอนของตนเองอย่างเป็นธรรมชาติ หรืออาจมีอารมณ์รุนแรง
การจำแนกประสาทหลอน
3) ประสาทหลอนด้านการรับกลิ่น (Olfactory Hallucinations)
5) ประสาทหลอนทางผิวสัมผัส (Tactile Hallucinations)
2) ประสาทตาหลอน หรือภาพหลอน (Visual Hallucinations)
4) ประสาทหลอนด้านการรับรส (Taste Hallucinations)
1) ประสาทหลอนทางหู หรือเสียงแว่ว (Auditory Hallucinations)
กระบวนการวางแผนการพยาบาล
การประเมินสภาพ
ปัจจัยนำหรือปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการ
พฤติกรรมที่บุคคลตอบสนองต่ออาการประสาทหลอน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เช่น เสี่ยงต่อพฤติกรรมรุนแรงในการทำร้ายตนเอง/ผู้อื่น
การปฏิบัติการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลตามข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ได้ตั้งไว้
การประเมินผลการพยาบาล
ประเมินผลตามเกณฑ์ทางการพยาบาลที่กำหนดไว้
ประสาทลวง (Illusion)
ความหมาย
ความผิดปกติของการรับรู้ที่มีสิ่งเร้ากระตุ้นต่อประสาทสัมผัส แต่บุคคลรับรู้หรือแปลผิด เช่น เห็นสายน้ำเกลือหรือเห็นเชือกเป็นงู