Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ขอบเขตการรักษาโรคเบื้องต้น กลุ่มอาการฉุกเฉินและการส่งต่อ, นศพต.ภัทระ…
ขอบเขตการรักษาโรคเบื้องต้น
กลุ่มอาการฉุกเฉินและการส่งต่อ
การรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
ข้อ10 ให้กระทำการประกอบวิชาชีพการพยาบาลตามข้อกำหนดของสภาการพยาบาลในการรักษาโรคเบื้องต้นและให้ภูมิคุ้มกันโรค33กลุ่มอาการ
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
ได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยกระทันหัน จำเป็นต้องได้รับการประเมินทันทีและบำบัดรักษาอย่างทันท่วงที
การเจ็บป่วยวิกฤต
เจ็บป่วยที่มีความรุนแรงที่มีผลต่อชีวิตถึงขั้นทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้
การปฐมพยาบาล
ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ที่บาดเจ็บหรือเจ็บป่วย โดยการดูแลเพื่อบรรเทาป้องกันไม่ให้ภาวะนั้นเลวลง
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
กระบวนการทำให้ร้างกายสร้างหรือเกิดภูมิคุ้มกันหรือภูมิต้านทานต่อโรคที่ต้องการ
การกระทำหัตถการตามขอบเขตที่กำหนด
การทำแผล ตกแต่งบาดแผล เย็บแผล ตัดไหม ผ่าฝี ในตำแหน่งที่ไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะสำคัญ
กาาถอดเล็บทำในกรณีเล็บขบ มีหนองใต้เล็บ เล็บเน่าพร้อมหลุด มีหนองใต้เล็บ
การรักษาพยาบาลขั้นต้นด้านปัจจุบันพยาบาลและภาวะฉุกเฉิน
-ผู้ได้รับสารพิษสัตว์กัดต่อยการแพ้ยาแพ้เซรุ่มวัคซีน
-ผู้ที่มีภาวะเสียโลหิตช็อคเป็นลมหมดสติหยุดหายใจ
-ผู้ที่มีภาวะกระดูกหักข้อเคล็ดข้อเคลื่อน
-ผู้ที่จมน้ำไฟไหม้น้ำร้อนลวกไฟฟ้าดูดสิ่งแปลกปลอมเข้าตาหูคอจมูก
-ผู้ที่ท้องเดินอย่างรุนแรงต้องสวนปัสสาวะล้างท้อง
ผู้ที่จมน้ำ ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ไฟฟ้าดูด
ผู้ป่วยหยุดหายใจระบบไหลเวียนหยุดทำงานโดยมีอาการร่วม ไม่รู้สึกตัว หยุดหายใจ คลำชีพจรไม่ได้ อันตราย: ทางเดินหายใจได้รับอันตรายเสีย ช็อค ติดเชื้อ
การช่วยเหลือ : ถ้าพบสิ่งผิดปกติ เช่น เสียงแหบ หายใจมีเสียงผิดปกติเสมหะมีเขม่าปนต้องช่วยหายใจโดยเร็ว ชีพจรถ้าเบามากต้องช่วยนวดหัวใจ การบาดเจ็บมีบาดแผลเลือดออกต้องห้ามเลือด ถ้ากระดูกหักก็ต้องเข้าเฝือกชั่วคราว ให้ประเมินความรุนแรงของแผลไฟไหม้และให้การช่วยเหลือ ตามความเหมาะสม
ผู้ที่มีภาวะกระดูกหักข้อเคล็ดข้อเคลื่อน
-กระดูกหักแบบเปิดหรือแบบปิดอาการ: ปวดบวมช้า ผิดรูป กดเจ็บไม่สามารถเคลื่อนไหวได้เสียงกรอบแกรบ
การรักษาเบื้องต้น: ป้องกันภาวะ shock เข้าเฝือกชั่วคราวดามพันผ้าไว้ให้อยู่นิ่งห้ามดั นกระดูกเข้า (กรณีแผลเปิด) ถ้าปวดมากให้ยาแก้ปวดนําส่งรพ
การประเมินทางระบบประสาท (Glasgow Coma Score)
การลืมตา-ลืมตาได้เอง-ลืมตาเมื่อเรียก-ลืมตาเมื่อเจ็บ ไม่ลืมตาเลย การสื่อสาร :
-พูดคุยไม่สับสน-พูดคุยได้ แต่สับสน พูดได้เป็นคำ ๆ -ส่งเสียงไม่เป็นคำพูด-ไม่ออกเสียงเลย
*การเคลื่อนไหว :
ทําตามคําสั่งได้ทราบตำาแหน่งเจ็บ ชักแขนขาหนี-งอแขน-เหยียดแขน-ไม่เคลื่อนไหวเลย
*การแปลผลระดับคะแนน severity = 3-8 = moderate = 9-12 mild = 13-15
การประเมินระดับความรู้สักตัว
• ระดับความรู้สักตัวดี (Full consciousness)
ความรู้สิกสับสน (Confusion)
การรับรู้ผิดปกติ (Disorientation)
ระดับความรู้สิกง่วงงุน (Drowsy)
ไม่รู้สึกตัว (Stupor)
•ระดับหมดสติ (Coma)
การดูแลภาวะช็อค
-ประเมินภาวะช็อคอย่างรวดเร็วทันเวลา
-ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
-ติดตามการทำงานของอวัยวะแต่ละระบบ
-ติดตามสัญญาชีพ EKG, urine output การได้รับออกซิเจน
-ดูแล / การพยาบาลผู้ป่วยแต่ละประเภทตามสาเหตุของการช็อค
การรักษาพยาบาลขั้นต้นด้านอายุรกรรม
กลุ่มอาการฉุกเฉินที่ต้องรีบช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อทันทคเพื่อรับบริการที่เหมาะสม (39 กลุ่มอาการ)
กลุ่มอาการที่ต้องได้รับการวินิจฉัยเพิ่มเติมต้องปรึกษาแพทย์ในเวลาที่กำหนดคือ 1-7 วัน (28 กลุ่มอาการ)
กลุ่มอาการที่ต้องการวินิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาโรคเบื้องต้น (8 ระบบ)
กลุ่มอาการฉุกเฉินที่ต้องรีบช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อทันทีเพื่อรับบริการที่เหมาะสม (39 กลุ่มอาการ)
การหยุดหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทำงาน (Cardiopulmonary arrest)
การหมดสติ (Unconsciousness)
ภาวะช็อค (Shock)
ซัก (Seizure)
การแพ้อย่างรุนแรง (Anaphylaxis)
เป็นลม (Syncope / Fainting)
โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke / Cerebrovascular disease)
8.จมนำ้ (Drowning และ Near drowning)
ตกเลือดรุนแรง (Massive blood loss)
ไฟฟ้าช็อต (Electrical injury)
ฟ้าฝ่า (Lighthing injury)
ตกจากที่สูง (Falling)
กระดูกหัก (Fracture)
ภาวะฉุกเฉินทางตา (Eye emergency)
ภาวะฉุกเฉินทางหู (Ear emergency)
ภาวะฉุกเฉินทางคอ (Throat emergency)
ภาวะฉุกเฉินทางจมูก (Nasal emergency)
ซิบติดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (Zipper injury)
การบาดเจ็บที่ศีรษะ (Head injury) (ถ้ามีอาการรุนแรง)
การบาดเจ็บทรวงอก (Cheat injury)
การบาดเจ็บช่องท้อง (Abdominal injury)
การบาดเจ็บที่สันหลัง (Spinal injury)
บาดแผลไหม้ (Burn) (ถ้ามีอาการรุนแรง)
อุบัติภัยหมู่ (Mass casualty)
ได้รับสารพิษหรือยาเกินขนาด (Toxic substance / Drug Overdose)
คนกัด (Human bite)
งูกัด (Snake bite) (ถ้าเป็นงูมีพิษหรืออาการรุนแรง)
สัตว์กัด (Animal bite)
ผึ้งต่อแตนต่อย (Bee / Wasp / Hornet Sting) (ถ้ามีอาการรุนแรง)
แมลงป่องต่อยตะขายแมงมุมกัด (Scorpion sting / Centipede / Spider bite) (ถ้าที่อาการรุนแรง)
เม่นทะเลดำ (Sea urchins) (ถ้ามีอาการุนแรง)
ได้รับพิษจากแมงกะพรุน (Jellyfish dermatitis)
พยายามฆ่าตัวตาย (Suicide)
ถูกข่มขืน (Rape)
คลุ้มคลั่งอาละวาด (Violence)
กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction)
หอบหืดรุนแรง (Status asthmaticus)
เป็นลมจากคลื่นความร้อน (Heat stroke)
ภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวช
ผู้ได้รับสารพิษสัตว์กัดต่อยการแพ้ยาแพ้เซรุ่มวัคซีนการแพ้ยา :
อาการและอาการแสดงของผู้ป่วย ได้แก่ มีอาการแสดงบริเวณที่แพ้ ซึม หมดสติไม่รู้สึกตัว คลื่นไส้ อาเจียน **
ประเมินอาการแยกกรณีที่จำเป็นต้องใส่ NG for lavage – หายใจลำบาก Charcoal
การดูแลผู้ป่วย: ให้ออกซิเจน 100% IV Fluid Blood test EKG Anti- dose Charcoal Admit Drug Acetaminophen Organophosphate Carbamate Carbonmonoxide Cyanide Opiate Opioids • Anti- dose N- acetylcysteine Atropine Oxygen 100% 3% sodium nitrate and 25% sodium thiosulfate Naloxone
ผู้ได้รับสารพิษสัตว์กัดต่อยการแพ้ยาแพ้เซรุ่มวัดซีนงูกัด
แยกอาการและอาการแสดงของงูที่กัดขึ้นกับชนิดของพิษต่อระบบประสาท: งูเห่างูจงอางงูสามเหลี่ยมงูทับสมิงคลาพิษต่อระบบเลือ งูแมวเซางูกะปะงูเขียวหางไหม
พิษต่อระบบกล้ามเนื้อ: งูทะเลชายธง
อาการทั่วไป
พิษต่อระบบประสาท:กล้ามเนื้ออ่อนแรงหนังตาตก พูดไม่ชัด กลืนลำบาพ อัมพาตหายใจเองไม่ได้
พิษต่อระบบเลือด:เลือดออกผิดปกติตามไรฟัน ตามผิวหนัง ทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ
กรณีงูแมวเซาอาจทำให้ไตวายได้
อาการเฉพาะที่ : พิษต่อระบบประสาท
งูสามเหลี่ยม งูทับสมิงคลา: บวมเล็กน้อย
งูเห่างูจงอาง: บวมปวดอักเสบ มีเนื้อตาย
พื้ษต่อระบบเลือด งูแมวเซา: บวมเล็กน้อย
งูกะปะ งูเขียวหางไหม้: ปวดบวมชัดเจนผิวหนังพองเป็นถุงน้ำมีเลือดออกภายในหรือมีเลือดซึมออกจากรอยแผล
ผู้ได้รับสารพิษสัตว์กัดต่อยการแพ้ยาแพ้เชรุ่มวัดชีนแมลง / สัตว์มีพิษกัด-ต่อย (ผึ้งต่อแตน)
*อาการและอาการแสดง ได้แก่ ปวด บวม ผื่นคันหายใจเหนื่อยหอบ
การพยาบาล - ประเมินอาการผู้ป่วยอาการแพ้เฉพาะที่หรือทั่วไปดูแลตามอาการเช่นเหนื่อยหอบให้ออกชิเจน or Dexa 1 ผื่นคันให้ยา CPM 1 ให้ Adrenaline
บทบาทของพยาบาลในการรักษาโรคเบื้องต้น problem list
จำแนกโรคให้ได้
ให้การรักษาเบื้องต้น
รักษาไม่ฉุกเฉิน
ให้การรักษาตามอาการ
ให้การรักษาเฉพาะโรค
ส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยเพิ่มเติม
รอได้
ส่งทันที
รักษาฉุกเฉิน
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นแล้วส่งต่อ
นศพต.ภัทระ ตันติเวชกุล เลขที่51