Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคอารมณ์แปรปรวนเเบบสองขั้ว(Bipolar Disorder) - Coggle Diagram
โรคอารมณ์แปรปรวนเเบบสองขั้ว(Bipolar Disorder)
ความหมาย
กลุ่มโรคทางจิตเวชที่ผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติเป็นอาการสำคัญ ส่งผลต่อควาใคิด การพูด กิจวัตรประจำวัน ความบกพร่องในหน้าที่ เเละความสัมพันธ์กับผู็อื่น
อารมณ์สองขั้ว จะมีลักษณะตรงข้ามกันเป็นคนละขั้ว
อุบัติการณ์
พบร้อยละ16.2ในประชากรทั่วไป
ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย2เท่า
สาเหตุ
สาเหตุทางชีววิทยา สารสื่อประสาทโดยเฉพาะกลุ่มโมโนเอมีน
Doparmin
Serotonin
Norepinephrine
พันธุศาสตร์
บิดาหรือมารดาคนใดคนหนึ่งป่วย บุตรเเต่ละคนมีโอกาสป่วยด้วยความผิดปกติทางอารมณืชนิดใดชนิดหนึ่ง
บิดามาดาป่วยด้วยโรคอารมณ์สองขั้วิบุตรเเต่ละคนจะมีโอกาสป่วยด้วย
สาเหตุทางจิตวิทยาเเละสังคม
เหตุการณ์ในชีวิต
ความเครียด
การสูญเสีย
ปัจจัยความคิดเเละการรับรู้
เกณฑ์การวินิจฉัยโรคอารมร์สองขั้ว
ระยะเมเนีย Manic episode ต้องมีอาการอย่างน้อย4อาการ
คิดว่าตยเองเป็นคนสำคัญคนใหญ่คนโต
ความต้องการนอนลดลง
พูดมากกว่าปกติหรือพูดไม่หยุด
ความคิดเเล่นเร็ว เปลี่ยนเรื่องเร็ว
เปลี่ยนความสนใจตามสิ่งเร้าภายนอกอย่างรวดเร็ว
ทำกิจกรรมมากขึ้นกว่าเดิม
ทำกิจกรรมที่ทำให้ตนเองเพลิดเพลินมากเกินไป
ระยะซึมเศร้า Major depressive episodeมีอารมณ์เศร้า หรือ สนใจกิจกรรมที่เคยทำลดลง อาการปลี่ยนไปจนผู้แื่นสังเกกตได้ เเละเป็นเเทบทุกวันหรือเกือบทุกวัน มีอาการอย่างน้อย4อาการ
น้ำหนักตัวลดหรือเพิ่มโดยไม่ได้ตั้งใจควบคุม
นอนไม่หลับหรือหลับมากเกือบทุกวัน
เชื่องช้าลงหรือกระสับกระส่าย
รู็สึกผิดมากเกินควร หรือรู้สึกไร้คุณค่า
ไม่มีสมธิ การคิดเเละการตัดสินใจลดลง
มีความคิดเกี่ยวกับความตายอยู่ซ้ำๆ
บทบาทของพยาบาล
การบำบัดรักษาด้วยสิ่งเเวดล้อม
การปรับความคิดเเละพฤติกรรมบำบัด
การบำบัดทางเลือก
การบำบัดรักษา
การรักษาด้านชีวภาพ
ระยะเฉียบพลัน
การรักษาด้วยยาปรับอารมณ์ ได้เเก่ ยาลิเทียม ยาโวเดียมวาโปรเอท ยาคาร์บามาซีปีน ยาลาโมทริจิน
การรักษาโดยไฟฟ้า จะพิจารณาใช้ในรายที่มีอาการรุนเเรงหรือเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
การป้องกันระยะยาว
การใช้ยาเดิมในระยะโรคกำลังฟื้นตัว โดยการปรับลดที่ยาที่กิน ดูเเลการเกิดโรคซ้ำ สามารถดูเเลตนเองได้อย่างเหมาพสม ผู้ป่วยเข้าใจโรคเเละให้ความร่วมมือ
การรักษาด้วยจิตสังคม
การให้สุขภาพจิตศึกษา
การบำบัดการรู้คิด
การบำบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
ครอบครัวบำบัด
กระบวนการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
เเบบแผนการรับรู้สุขภาพเเละการดูเเลสุขภาพ ผู้แ่วยมักเข้ามารับการรักษาโดยอาการทางกาย
เเบบแผนโภชนากรเเละการเผาพลาญอาหาร ผู้ป่วยน้ำหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ
เเบบแผนขับถ่าย ท้องผูกพบบ่อยในผู้ป่วยที่เคลื่อนไหวช้า เเละท้องเสียจะเกิดกับผู้ป่วยที่อยู่ไม่นิ่งกระสับกระส่าย
เเบบแผนการทำกิจกรรมเเละการออกกำลังกาย บางรายอาจเกิดอาการกระสับการส่ายทำให้อ่อนเพลีย
เเบบแผนการพักผ่อนเเละการนอนหลับ เกิดอาการนอนหลับตอนปลายคือเข้านอนปกติเเต่ตื่นตอนดึก
เเบบแผนการรู้คิด การรับรู้เเละการสื่อสาร การคิดเเละสมาธิลดลง คิดช้า เเละตัดสินใจอะไรไม่ได้
เเบบผนการรับรู้ตนเองอัตมโนทัศน์ ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่า ขาดความสุข มีอารมณ์ซึมเศร้า
เเบบแผนทางเพศเเละการเจริญพันธ์ ผู้ป่วยขาดความสนใจในเรื่องเพศ
เเบบแผนความเครียด ความทนต่อความเครียดเเละการจัดการความเครียด ผู้ป่วยอาจมีอาการก้าวร้าวหรือทำร้ายตนเอง
เเบบแผนคุณค่า ความเชื่อเเละสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ผู้ป่วยมีความทุกข์เเละความบกพร่องในการดำเนินชีวิตประจำวัน
การวางแผนทางการพยาบาล
สนใจดูเเลสุขอนามัยเเละการเเต่งกายของคน
ปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ปกติ
นอนหลับเป็นปกติ6-8ชั่วโมง
กระบวนการคิดปกติดดละรับรู้ความสามารมของตนเอง
มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมเหมาะสม เเละไม่มีพฤติกรรมควบคุมผู้อื่น
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เนื่องจากกิจกรรมมากกว่าปกติ
กระบวนการคิดแปรปรวน เนื่องจากเชื่อว่าตนมีความสามารถพิเศษ
เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่สมดุล โดยได้รับน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่องเนื่องจากมีพฤติกรรมควบคุมผู้อื่น
เสี่ยงต่อการได้รบอันตรายจากอาการเป็นพิษจากการใช้ยารักษา
เสี่ยงต่อการใช้ความรุนเเรงกับผู้อื่นเนื่องจากไม่สามารถควบคุมอารมณ์ได้
การประเมินผลการพยาบาล
ไม่มีภาวะซึมเศร้า
รับรู้ความสามารถของตนเองตามความเป็นจริง
การนอนหลับเป็นปกติ
สนใจเเละดูเเลสุขอนามัยของตน
มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมเหมาะสม ไม่มีพฤติกรรมควบคุมผู้อื่น
การปฏิบัติการพยาบาล
การให้ความรู้ให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรค
การทำกลุ่มจิตบำบัด
การปรับพฤติกรรมความคิด
จิตบำบัดครอบครัว
จิตบำบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
กลุ่มสุขภาพจิตศึกษา
การจัดสิ่งเเวดล้อมให้เหมาะสม
การดูเเลเรื่องการรับประทานยา
สนทนาเพื่อการบำบัด ค้นหาสาเหตุเเละปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดสะท้อนให้ผู้ป่วยได้รับรู้
การติดตามเยี่ยมในชุมชน
การประเมินภาวะความรุนเเรงของพฤติกรมก้าวร้าว