Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการดำเนินงานต้นกล้าไร้ถังของโรงเรียนอนุบาลทับสะแก, 4.3…
กระบวนการดำเนินงานต้นกล้าไร้ถังของโรงเรียนอนุบาลทับสะแก
1.กำหนดนโยบายและเป้าหมาย
1.1.สร้างจิตสำนึกรับผิดชอบในการรักษาความสะอาดให้ทุกคน
1.2.ทุกคนในโรงเรียนจะต้องดำเนินการจัดการขยะต้นทางด้วยตนอง
1.3.โรงเรียนสะอาดไร้ถังขยะ
2.สร้างความรู้ความเข้าใจที่เกี่ยวข้อง
2.1 สร้างความรู้ความเข้าใจ เรื่องจังหวัดประจวบไร้ถัง ให้กับครู นักเรียนและเจ้าหน้าที่ผู้ประกอบการร้านค้าในโรงอาหาร
2.2 ฝึกปฏิบัติตามแนวทางจังหวัดประจวบไร้ถังในฐานะเป็นพื้นที่สาธิตการดำเนินการ
3.การวางแผนการดำเนินงาน
3.1 ประชุมหารือร่วมกันหาแนวทางและกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินการ
3.2 ครูนำแนวทางการจัดการขยะด้วยตนเองตั้งแต่ต้นทางแบบ “ไร้ถัง” บูรณาการการจัดการเรียนรู้ในทุกชั้นเรียน
3.3 ครูและนักเรียนใช้แนวทางการจัดการขยะด้วยตนเองตั้งแต่ต้นทางแบบ “ไร้ถัง” ในชีวิตประจำวัน
4.การดำเนินงานตามแผน
4.1 การจัดการขยะด้วยตนเองตั้งแต่ในห้องเรียน
-นักเรียนทุกคนมีแก้วประจำตัว
-กำหนดมาตรการรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติก
-ติดประกาศให้ทุกคนทราบและถือปฏิบัติ
-ครูสอนให้นักเรียนแยกประเภทขยะและวัสดุ
-จัดภาชนะคัดแยกในห้องเรียน
-จัดการวัสดุรีไซเคิลบริจาคหรือจำหน่าย
-ขยะใช้ไม่ได้ให้เทศบาลฝังกลบ
-ขยะเป็นพิษให้เทศบาล
-ขยะติดเชื้อส่งให้โรงพยาบาลทับสะแก
-จัดการถุงนมโดย “ตัด ล้าง และตาก”
-น้ำที่ใช้ล้างถุงนมนำไปหมักกับน้ำจุลินทรีย์หน่อกล้วยเพื่อทำปุ๋ย
4.2 การปลูกฝังระเบียบวินัยในการรับประทานอาหาร
-บันทึกข้อตกลงเรื่องการรับประทานอาหารในโรงอาหาร
-ติดประกาศและมารยาทในการใช้โรงอาหาร
-นักเรียนทุกคนใช้ภาชนะส่วนตัว
-ขอความร่วมมือผู้ประกอบการงดการใช้ โฟม พลาสติก
-จัดทหารเสือตรวจตราการับประทานอาหาร
5.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
5.1 ผู้ประสานงานดำเนินการติดตามแต่ละกิจกรรม
5.2 รายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารสถานศึกษาทราบเป็นระยะ
6.การขยายการดำเนินงานเพื่อให้เกิดความยั่งยืน
6.1.ถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน
-โรงเรียนได้ส่งบุคลากรและนักเรียนไปสาธิตวิธีการจัดการขยะในครัวเรือนให้กับชาวบ้านในชุมชนใกล้เคียง
-ส่งตัวแทนโรงเรียนเป็นวิทยากรในโครงการอบรมการจัดการขยะ
-ตั้งจุดสาธิตในการจัดการขยะเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป
-สนับสนุนการดำเนินการของอำเภอและจังหวัด
6.2.การให้บริการสังคม
-ครูและนักเรียนได้ร่วมกันเก็บขยะชายหาด และบริเวณที่อยู่อาศัยของนักเรียน
-ครูและนักเรียนร่วมกิจกรรมเก็บขยะร่วมกับหน่วยงานหรือกลุ่มผู้พิทักษ์สิ่งแวดล้อม
-โรงเรียนส่งนักเรียนไปเป็นจิตอาสาตั้งจุดจัดการขยะตามงานต่างๆ
-โรงเรียนร่วมกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาขยะ และร่วมกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
4.3 ส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนเห็นประโยชน์
รีไซเคลที่เหลือใช้
-ใช้วัสดุรีไซเคิลจัดทำสื่อการสอน
-นำวัสดุรีไซเคิลไปบริจาค หรือจำหน่าย
-รวบรวมไปแลกไข่ ตามโครงการ “ถุงพลาสติกสะอาดแลกไข่”ของเทศบาลตำบลทับสะแก
-จัดตั้งฐานการเรียนรู้ 7 ฐานประกอบด้วย
1.ฐานคัดแยกรื่นรมย์
2.ฐานถุงนมร้อยรัก
3.ฐานน้ำหมักร่วมใจ
4.ฐานกรีนโคนช่วยได้
5.ฐานใบไม้คืนชีวิต
6.ฐานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
7.ฐานมีวินัยการกิน
-นักเรียนทำหน้าที่เป็นวิทยกรประจำฐานแต่ละฐานการเรียนรู้ และครูทำหน้ที่เป็นวิทยากรบรรยายภาพรวมและนำชมฐานต่างๆ