Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างการค้าระหว่างประเทศของประเทศไทย, สมาชิกในกลุ่ม - Coggle Diagram
โครงสร้างการค้าระหว่างประเทศของประเทศไทย
ความเป็นมา
2398-2474
ทำสนธิสัญญาเบาว์ริงเเละมีการติดต่อกับยุโรป
2475-2479
มีการเปลี่ยนเเปลงการปกครองเเละติดต่อกับยุโรปเเละญี่ปุ่นเป็นส่วนใหญ่
2480-2499
สิ้นสุดสงครามโลก สหรัฐเเละยุโรปน้อยลง เเต่จะเป็นญี่ปุ่นเพิ่มขึ้น
2500-2515
เกิดรัฐประหาร จัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนเเห่งชาติ
2516-2528
มีเหตุการณ์ทางการเมืองที่สำคัญ
ส่งผลให้มีก่รลงทุนน้อยลง
2516-2528
ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ของเอเชียเข้ามาไทยเพื่อเป็นฐานการผลิตเเละส่งออก
โครงสร้างการค้าระหว่างประเทศของไทย
การนำเข้า
ประโยชน์ด้านการนำเข้า
ช่วยให้ประชาชนในประเทศมีสินค้าอุปโภคบริโภคสมบูรณ์ในราคาที่เหมาะสม
เพิ่มการลงทุน กรณีที่สินค้าที่นำเข้าเพื่อใช้ในการผลิต
รัฐบาลมีรายได้เพิ่มขึ้น
สินค้านำเข้าจากประเทศอุตสาหกรรมจะกระตุ้นให้การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
การส่งออก
ประโยชน์ด้านการส่งสินค้าออก
ทำให้เกิดรายได้ ซึ่งเงินตราต่างประเทศที่สำคัญ
ช่วยให้เพิ่มรายได้ของผู้ผลิต ผู้ผลิตก็สามารถขายออกสู่ตลาดต่างประเทศหรือขยายการประชาชาติเพิ่มขึ้น
การส่งออกส่งผลต่อการบงทุนที่เพิ่มขึ้น การจ้างเงินเพิ่มขึ้น ประเทศก็จะเจริญตามไปด้วย
สินค้าออกเป็นเเหล่งรายได้ของรัฐบาล จากอากรขาออกเเละธรรมเนียมต่างๆ
การส่งออกสามารถช่วยในการชำระหนี้ต่างประเทศคืนได้
ดุลการค้า
ดุลการค้าเกินดุล
เสียเปรียบทางการค้า
ดุลการค้าขาดดุล
ดุลการค้าสมดุล
ได้เปรียบทางการค้า
ลักษณะการค้าต่างประเทศ
ใช้นโยบายการค้าคุ้มกัน
เอกชนมีบทบาททางการค้ามากที่สุดโดยรัฐอำนวยความสะดวกให้
ใช้ระบบภาษีศุลกากรพิกัดอัตราเดียว
เอกสารสำหรับการนำเข้าสินค้า
ใบขนสินค้านำเข้า
ใบตราส่งสินค้าทางเรือ
บัญชีราคาสินค้า
บัญชีรายละเอียดบรรจุหีบห่อ
ใบอนุญาตหรือหนังสืออนุญาตสำหรับสินค้าควบคุมการนำเข้า
เอกสารอื่นๆเช่น เเคลตาล็อค
เอกสารการส่งออกสินค้า
ใบขนสินค้าขาออก
บัญชีราคาสินค้า
ใบอนุญาตหรือหนังสืออนุญาตสำหรับสินค้าควบคุมการส่งออก
ใบรับรองแหล่งสำเนิดสินค้า
เอกสารอื่นๆ เช่น แคตตาล็อค
แผนพัฒนาเศรษฐกิจไทย
ฉบับที่1
2504-2509
1.เน้นการลงทุนปัจจัยพื้นฐาน
2ส่งเสริมการลงทุนเอกชนด้านอุตสาหกรรม
ฉบับที่2
2510-2514
1.เน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
2.มุ่งพัฒนากำลังคนเพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาประเมศ
ฉบับที่3
1.เน้นพัฒนาสังคมมากขึ้น
2.ยกระดับการผลิตเเละรายได้ประชาชาติให้สูงขึ้น
ฉบับที่4
1.เน้นการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ
2.เน้นการฟื้นฟูเศรษฐกิจของเกษตรกร ผู้ใช้เเรงงานเเละคนยากจน
ฉบับที่5
2525-2529
1.เน้นการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจการเงินเป็นพิเศษ
2.เน้นการเเปลงเเผนไปสู่การปฎิบัติ
ฉบับที่6
2530 - 2534
1.การเพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนาประเทศ
2.การกระจายรายได้เเละความเจริญไปสู่ภูมิภาคเเละชนบท
ฉบับที่ 7
2535 - 2539
รักษาอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้อยุ่ในระดับที่เหมาะสม
ฉบับที่8
2540 - 2544
1.เน้นให้คนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา
2.ใช้เศรษฐกิจเป็นเครื่องมือช่วยพัฒนาให้คนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ฉบับที่ 9
อันเชิญเเนวปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง
"คนเป็นศูนย์กลางพัฒนาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน"
ฉบับที่ 10
พัฒนาต่อยอดจากฉบับที่ 8 9
ฉบับที่ 11
2555-2559
เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจภายในระเทศให้เข็มเเข็งโดยภูมิปัญญา วิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี
ฉบับที่12
ความร่วมมือระหว่างประเทศสร้างโอกาสกับประเทศต่างๆ
สมาชิกในกลุ่ม
กลุ่มที่ 3
กุสุมา จันทร์รอด 6240410303
ณัฐพร สุคนธรัตน์ 6240410310
วาสิตา นราพันธ์ 6240410329
ธนรัตน์ บุญสิน 6240410338
ศิริพรรณ กู้เมือง 6240410345
สุภาวดี โรจชยะ 6240410346
หทัยภัทร ลออปักษิณ 6240410347
กลุ่มที่ 1
ญานิศา เจนสมุทร 6240410308