Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 โครงข้อหมุนไม้ - Coggle Diagram
บทที่ 7 โครงข้อหมุนไม้
บทนำ
โครงข้อหมุนหรือโครงถัก เป้นโครงสร้างที่ประกอบขึ้นจากท่อนหรือแท่งวัสดุ ต่อยึดกันเป็นโครงข่ายรูปสามเหลียมหลายๆ รูป ซึ่ง
อาจทำด้วย ไม้อัดกาว เหล็ก หรืออาจทำด้วยไม้และท่อนเหล็ก
โดยทั่วไป มักช้ทั้งงานอาคารและสะพาน สำหรับบ้านมักใช้ทำโครงช่วงสั้น เช่น โครงหลังคาบ้าน
-
-
-
ขั้นตอนการออกแบบ
- หาหน่วยแรงที่ยอมให้ต่างๆ สำหรับไม้ที่จะนำมาใช้ และสามารถเพิ่มหน่วยแรงที่ยอมให้
ได้อีก 33% เมื่อนำแรงลมมาคิดเนื่องจากเป็นแรงกระทำชั่วครั้งชั่วคราว
- คำนวณหาขนาดของไม้ในแต่ละส่วน โดยใช้ค่าแรงภายในสูงสุดที่หาได้ในขั้นตอนที่ 2
- วิเคราะห์หาแรงภายในชิ้นส่วนต่างๆของโครงภายใต้การกระทำของ
น้ำหนักบรรทุกต่างๆ ในข้อ 1
- ออกแบบรอยต่อที่จุดต่อช่วง และการต่อไม้ โดยใช้ค่าแรงภายในสูงสุดและแนวแรง
ที่กระทำกับแนวเสี้ยนไม้มากสุด
- หาน้ำหนักบรรทุกใช้งาน หน่วยเป็น กิโลกรัมต่อตารางเมตร ซึ่งประกอบไปด้วย
น้ำหนักบรรทุกคงที่ และน้ำหนังบรรทุกจรในแนวราบ รวมถึงแรงลมที่กระทำในแนวตั้ง
แล้วจึงแปลงเป็นน้ำหนักหรือแรงกระทำต่อจุด
การค้ำยันและการยกโครงไม้
การค้ำยันและยึดโยงทางข้าง สามารถต้านแรงทางขวางและแรงตามแนวยาวได้ ซึ่งจะเป็นค้ำยันชั่วคราวและเมื่อประกอบเสร็จแลัวจะกลายเป็นค้ำยันถาวร
-
การค้ำยันทางตั้ง ระหว่างโครงข้างเคียงเพื่อป้องกันมิให้โครงเซตามแนวยาวทำดดยยึดไขว้ระหว่างจันทันของโครงหนึ่งไปยังอีกโครงหนึ่งระยะห่างไม่เกิน 10 เมตร
การโก่งตัว
เมื่อออกแบบส่วนต่างๆ ของโครงแล้ว ให้วิเคราะการแอ่นหรือโก่ง
ตัวของโครงข้อหมุนด้วย โดยอาจใช้วิธีของ virtual work เมื่อ
ต้องการทราบตำแหน่งใดๆของการแอ่นหรือโก่ง หรือเมื่อต้องการทราบ
ตำแหน่งต่างของการแอ่นหรือโก่งพร้อมกันโดยใช้ Williot-Mohr Diagram
โดยปกติการแอ่นหรือโก่งจะมีค่า เป็น 2 เท่าของค่าทำคำนวณได้ สำหรับไม้แห้ง และมีค่าเป็น 3 เท่าสำหรับไม้สด
-
การยกโครงให้ยกขึ้น
-
-
ในการประกอบและติดตั้งโครงจำเป็นต้องทำให้โก่งขึ้น เพื่อให้พอดีกับการ
แอ่นหรือโก่งตัวในแนวดิ่งเมื่อรับน้ำหนักบรรทุก
-
หรืออาจใช้สูตรในการหาค่าที่โก่งขึ้น