Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบทางเดินหายใจ, น.ส.กมลวรรณ โชคสุกิจนันท์
เลขที่ 89 ปี 3…
โรคระบบทางเดินหายใจ
หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน
มักพบหลังจากเป็นไข้หวัดหรือไข้หวัดใหญ่ ส่วนมากเกิดจากเชื้อไวรัส แบคทีเรีย สารระคายเคือง เช่น ควันบุหรี่ ฝุ่นละออง
อาการ
มักมีอาการไอ จะไอมากในช่วงกลางคืน ระยะแรกจะไอแห้งๆ อาจมีเสียงแหบเจ็บหน้าอก เพราะไอมาก วันต่อไปจะมีเสมหะ บางรายอาจมีอาการหอบหืดร่วมด้วย
-
-
การรักษา
จะรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ บางรายมีอาการหอบหืดจะให้ยาขยายหลอดลม ไม่ควรให้ยาแก้ไอหรือยาแก้แพ้ เพราะจะทำให้ปอดบางส่วนแฟบได้ แนะนำให้ พักผ้อนดื่มน้ำอุ่น เพื่อให้ดูดเสมหะออกง่ายและงดสูบบุหรี่
หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
เป็นโรคที่มีลักษณะเฉพาะ โดยมีอการไอ มีเสมหะเรื้อรัง เป็นๆหายๆ ติดต่อกัน ใน 1 ปี ไม่ต่ำกว่า 3 เดือน ระยะเวลา 2 ปีติดต่อกัน สาเหตุมาจากการสูบบุหรี่
อาการ
ผู้ป่วยจะมีอาการไอมีเสมหะเรื้อรังเป็นแรมเดือนแรมปี ระยะเเรกจะมีอาการไอหรือขากเสมหะในตอนเช้าหลังตื่นนอนเป็นประจำทุกวันจนเป็นเรื่องปกติ ต่อมาจะอาการไอถี่ตลอดวัน เสมหะมากขึ้นอาจมีสีขาวสีเหลือง อาจมีอาการหอบร่วมด้วย
-
-
ภาวะแทรกซ้อน
มักเกิดจากการที่รักษาที่ไม่ถูกต้อง จากการติดเชื้อของหลอดลมจนลามไปที่ปอดซึ่งมีผลทำให้ปอดอักเสบ ( Pneumonia )
ปอดอักเสบ
สาเหตุ
ผู้ป่วยที่มีการระบายอากาศหายใจไม่ดี หรือใส่เครื่องมือทางการแพทย์ เช่น Pseudomonas aeruginosa เป็นต้น ผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานต่ำ เช่น ผู้สูงอายุ โรคปอดเรื้อรัง หอบหืด หลอดลมอักเสบ เป็นต้น
-
-
โรคแทรกซ้อน
หลอดลมพอง ( Emphyema ) จะมี infected fluid ใน Pleural space พบบ่อยถ้าการรักษาไม่ดีพอ โดยเฉพาะเด็กจะรักษาโดยใช้ยา Chemotheraphy เพราะเชื้อ Klebsella มีโอกาสทำลาย อาจทำให้เกิดฝีในปอด
-
-
-
-
-
-
-
หลอดลมอักเสบ
พยาธิ
การบวมของเยื่อเมือกที่บุหลอดลมและขยายลงไปถึงชั้นใต้เยื่อบุ ทำให้ชั้นเยื่อบุและชั้นใต้เยื่อบุบวม ขัดขวางการทำงานและหน้าที่การกัดกินเชื้อโรค ทำให้เสมหะเป็นมูก หนองเหนียวข้นเกาะค้างในหลอดลม จนกระทั่งมีการไอเอาเสมหะออก เนื่องจากระบบการทำให้หลอดลมปราศจากเชื้อโรคที่ไม่ดีอาจทำให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำได้
การประเมินสภาวะสุขภาพ
-
ประวัติการแพ้ การได้รับสารระคายเคือง อาการแสดงเช่น มีการไอไม่มีเสมหะและเจ็บบริเวณหน้าอก เสมหะเหนียวอาจมีเลือดปน วิงเวียน อ่อนเพลียหายใจเร็ว เป็นต้น
-
การรักษา
เป็นการรักษาแบบประคับประคองไม่ให้ลุกลามและป้องกันการติดเชื้อซ้ำเติม เช่น ยาบรรเทาอาการไอ ยาขยายหลอดลมเป็นต้น
-
COPD
พยาธิ
สารระคายเคืองทำให้เกิดการอักเสบเรื้อรัง Chronic bronchitis หลอดลมอักเสบเรื้อรัง Emphysema ถุงลมโป่งพอง Mucociliary ผิดปกติ หลอดลมเสียความยืดหยุ่น airflow limit, air trapping การแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง hypoxia, hypercarbia
สาเหตุ
-
WORK-RELATED
(Coal miner, etc.)
-
-
-
-
Lung abscess
โพรงหนองที่เกิดจากเนื้อปอดถูกทำลายจากการอักเสบติดเชื้อและมีขนาดตั้งแต่2ซม.ขึ้นไป โพรงมีขนาดเล็กกว่า2ซม. เป็นลักษณะของปอดอักเสบชนิดเนื้อตาย
สาเหตุ
การสำลัก การติดเชื้อจาก Escherichia coli , Klebsiella pneumoniae
-
-
-
-
-
COVID - 19
การนิยามผู้ป่วย
ผู้ป่วยยืนยัน ( Confirmed ) คือผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรคที่มีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการพบเชื้อไวรัส จะทำการ SARS-CoV-2 โดยวิธี PCR ยืนยันจากห้องปฏิบัติการ 2 แห่ง หรือ Sequencing หรือเพาะเชื้อ
ผู้ติดเชื้อไม่มีอาการ ( Asymptomatic infection ) คือ ผู้ที่มีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการพบเชื้อไวรัส จะทำการ SARS-CoV-2 โดยวิธี PCR ยืนยันจากห้องปฏิบัติการ 2 แห่ง หรือ Sequencing หรือเพาะเชื้อ แต่ไม่มีอาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยเข้าข่าย ( Probable ) คือผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์สอบสวนโรคที่มีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการพบเชื้อไวรัส จะทำการ SARS-CoV-2 โดยวิธี PCR ยืนยันจากห้องปฏิบัติการ 1 แห่ง หรือ Sequencingหรือเพาะเชื้อ
นิยามการค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม ผู้ป่วยสงสัย( suspected case ) ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีอุณหภูมิร่างกาย >37.5 c หรือมีประวัติไข้ รวมกับอาการอย่างน้อยหนึ่งอาการ ได้แก่ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หอบเหนื่อย ตั้งแต่ 14 วันก่อนวันเริ่มป่วยได้รับการรายงาน จนถึง 28 วันหลังพบผู้ป่วยยืนยันรายสุดท้าย
-
-
-
-