Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ซีด เหลือง บวม - Coggle Diagram
ซีด เหลือง บวม
เหลือง
ภาวะเหลือง (Jaundice)
- การดูสีของ Sclera เยื่อบุช่องปาก ผิวหนังตามร่างกายทั่วไป ความผิดปกติที่พบบ่อย ได้แก่ โรคของระบบน้ำดี
โรคตับอักเสบ โรคไข้ทัยฟอยด์ โรคมาลาเรีย โรคตับแข็งจากพิษสุราเรื้อรัง โรคมะเร็งในตับ เป็นต้น
indirect มาก
โรค Thalassemia , Auto immune, G6PD, Malaria
-
- Bilirubin >2.5 (เหลือง)
- Bilirubin <2.5 (ไม่เหลือง)
-
-
อุดตันบริเวณ Spinter of oddi จะทำให้เกิดตัวเหลืองมากสุดเพราะไม่สามารถหลั่งAmylaseได้ ทำให้เกิด double duct signs ถ้าอุดตันบริเวณ common bile duct จะทำให้องัยวะส่วนบน มีการบวม(dilate)
ซีด
ภาวะซีด (Anemia)
การดูสีของ Conjunctiva ริมฝีปาก ลิ้น ฝ่ามือ และผิวหนังโดยทั่วไป การไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย (Capillary refill time) โดยการใช้นิ้วกด ที่เล็บของผู้รับบริการแล้วดูการไหลกลับของเลือดที่เล็บ ปกติควรไหลกลับมาในไม่เกิน 2 วินาที เป็นการบ่งบอกถึงการ ไหลเวียนของเลือดสู่อวัยวะต่างๆ
สาเหตุ
การสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
- ขาดสารอาหาร ธาตุเหล็ก วิตามินบี12 กรดโฟลิค - โรคไตวายเรื้อรัง โรคของไขกระดูก เช่น ไขกระดูกฝ่อ โรคเรื้อรังบางชนิด เช่น โรคมะเร็ง ข้ออักเสบ
-
-
-
-
MCV ปกติ 80-100
MCV < 80
- Iron deficiency
- Thalassemia
MCV >80
- Liver disease
- Hypothyroidism
การวินิจฉัย
- การชักประวัติเบื้องต้น และการตรวจร่างกาย
- การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
(Complete Blood Count: CBC)
- การตรวจวิเคราะห์ชนิดและปริมาณฮีโมโกลบิน
(Hemoglobin Electrophoresis)
- การตรวจนับปริมาณเม็ดเลือดแดงตัวอ่อน
(Reticulocyte Count)
- การตรวจระดับธาตุเหล็กในเลือดและร่างกาย
- การตรวจไขกระดูก
บวม
ภาวะบวม (Edema)
เกิดจากการท้นของความดันในระบบไหลเวียนเลือดดำเรื้อรัง เป็นสาเหตุให้บวมบริเวณส่วนปลายและรอบๆก้นกบได้ ซึ่งโดยส่วนมากจะ พบการบวมบริเวณส่วนล่างของร่างกาย สามารถประเมินอาการบวม โดยใช้นิ้วขี้กดที่บริเวณหลังเท้าหรือบริเวณหน้าแข้ง ค้างไว้นาน ประมาณ 5 วินาที และประเมินลักษณะการบุ๋ม
Pitting edema ซึ่งแบ่งเป็น 4 ระดับ
ระดับ 1+ กดบุ๋มลงไป 2 มิลลิเมตร รอยบุ๋มหายไปเร็ว
ระดับ 2+ กดบุ๋มลงไป 4 มิลลิเมตร รอยบุ๋มหายไปใน 15 วินาที
ระดับ 3+ กดบุ๋มลงไป 6 มิลลิเมตร และคงอยู่หลายนาที
ระดับ 4+ กดบุ๋มลึกได้มากกว่า 8 มิลลิเมตร และยังคงอยู่นาน 2-5 นาที
บวมทั้งตัว
- หัวใจ ดู BP EKG ECCO
- ไต ดู BUN Creatinin Protein ในปัสสาวะ
- ตับ ดู albumin
-
สาเหตุ
ㆍHydrostatic pressure ในหลอดเลือดเพิ่มขึ้น
ㆍOncotic pressure ในหลอดเลือดลดลง
ㆍภาวะการคั่งของน้ำและเกลือแร่ (Salt and water retention)
ㆍ การสูญเสียความสามารถในการซึมผ่านของสารน้ำในผนังหลอดเลือดฝอย
(vascular permeability)
ㆍการอุดตันของต่อมน้ำเหลือง (Lymphatic obstruction)
1.Hydrostatic Pressure หรือแรงผลักออก คือ แรงดันภายในหลอดเลือดที่ดันน้ำออกสู่เนื้อเยื่อ
2.Oncotic Presssure หรือแรงดูดกลับ คือ แรงที่ทำหน้าที่ในการดึงดูดน้ำไว้ภายในหลอดเลือด แรงนี้ขึ้นอยู่
กับปริมาณโปรตีนภายในเลือด โดยเฉพาะอย่างยิ่งอัลบูมิน (Albumin)