Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคทางอายุรกรรม ครั้งที่ 2 - Coggle Diagram
โรคทางอายุรกรรม ครั้งที่ 2
Acute Diarrhea
ถ่ายเป็นน้ำมากกว่า3ครั้งใน24ชม.หรือถ่ายเป็นมูกเลือดอย่างน้อย 1ครั้ง
ถ่ายเป็นน้ำ
สีเหลือง เขียวอ่อนหรือน้ำซาวข้าว จะแสดงอาการขาดน้ำและเกลือแร่
การรักษา รีบให้ORS/ IF Tetracycline Doxycycline Norfloxacin
ถ่ายเป็นเลือด
มีไข้ ปวดเบ่ง ถ่ายบ่อยแต่ปริมาณน้อย
การรักษา ORS/ IVF Norfloxacin แนวโน้มsepsis ให้ Ciprofloxacin
Shock
คือ สภาวะที่มีการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงร่างกายไม่เพียงพอ
Hypovolemic Shock
ให้สารน้ำและ electrolytes ให้เลือด ผ่าตัดห้ามเลือด ทำแผลburn รักษาท้องเสีย ให้ Ventilation and oxygenation ยาDopamine, NE
Cardiogenic Shock
ให้ยา antiarrhythmic drug ในรายหัวใจเต้นผิดจังหวะ, diureticในราย fuid overload ให้ Ventilation and oxygenation อาจให้ยา เช่น Sodiumnitroprusside, NTG
Septic Shock
กำจัดการติดเชื้อ การให้ยาปฏิชีวนะ ให้สารน้ำ
Neurogenic Shock
กำจัดที่สาเหตุ ให้ Ventilation and oxygenation กรณี high spinal block หรือ spinal cord injury หลังให้สารน้ำแล้วอาจให้ยาEphedrine หรือ Armine ถ้าหัวใจเต้นช้ามาก อาจให้ Atropine
Anaphylactic Shock
นอนราบศีรษะต่ำ + ออกซิเจน ให้สารน้ำ ให้Adrenaline พ่นยาขยายหลอดลมในรายที่มี bronchospasm Antihistamine, corticosteroid แบบฉีด
Endocrine Shock
ให้ยา corticosteroid ในขนาดที่เหมาะสม
Chest pain
Pericarditis
เจ็บแปล๊บ หรือ เสียดแทง ลุกนั่ง / โน้มตัวมาข้างหน้า
Unstable angina
เหมือน stable angina แต่รุนแรงกว่า Rx ASA/ Isosorbide
Dinitrate/B-blocker /Clopidogrel / ACEI
MI
เหมือน stable angina แต่รุนแรงกว่า
Stable angina
หายใจไม่สะดวก คล้ายมีอะไรมาทับ มีrefer pain บรรเทาโดยการพัก อมยาNTG Bx ASA/ Isosorbide Dinitrate/B-blocker
Aortic Dissection
ลักษณะคล้ายมีของแหลมคมมาแทง หรือ เจ็บแบบฉีกขาด
อาการ เจ็บเค้นหน้าอก เหนื่อยง่าย หมดสติ หรือ หัวใจหยุดเต้น
Pulmonary Embolism
หอบเหนื่อย หายใจเร็ว BP drop, หัวใจห้องขวาล้มเหลว
Pulmonary Edema
มีของเหลวในถุงลมปอดมากผิดปกติส่งผลให้ผู้ป่วยหายใจลำบากหรือหายใจไม่อิ่ม ไอมีเสมหะเป็นฟองสีชมพูเจ็บหน้าอก
การรักษา
กลุ่มยาลดแรงดัน(nitroglycerin/Furosemide) ยาขยายหลอดเลือด(Nitroprusside)
การวินิจฉัย
ตรวจ Echocardiogram หรือ ultrasound / x-ray ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
Cirrhosis
สาเหตุ
cystic fibrosis , Alpha one antitrypsin deficiency , Glycogen storage disease , ภาวะหัวใจขวาล้มเหลวเรื้อรัง
ภาวะไขมันคั่งในตับ
ภูมิเเพ้ตนเองเกิดจากตับ
Hemochromatosis
Wilson disease
ไวรัสบี ซี , แอลกอฮอล์ , พันธุกรรม
โรคทางเดินน้ำดีฟ่อเเต่เกิด
อาการ
เพลีย, ล้า, ไม่อยากอาหาร, น้ำหนักลด, บวมขา, อาการสมอง, ไวต่อยา, เลือดออกรุนเเรง
อากาารเเสดง
ต่อมใหญ่, ไข่ฝ่อ, เจ้าเเมงมุม, หมอกลงเล็บ, ปุ้มนิ้วออก, เจ็บมือเเดง Flapping tremor ,Fetor hepaticus
วินิจฉัย
ซักประวัติ , ตรวจเลือด, CT scan ,U/S, radioisotope scan, เจาะเอาตับไปตรวจbiopsy
ตับเรื้อรังระยะสุดท้าย ,เกิดพังผืด ,ตับเสียหน้าที่เกิดภาวะเเทรกซ้อน
การรักษา
หาสาเหตุ ให้ยาต้านB,C ยากดภูมิ ยาขับเหล็ก ประเมินระยะโรค ส่องกล้อง U/S คัดกรองมะเร็จตับ
ดูเเลภาวะโภชนการ แบ่งมื้อหลายมื้อไม่มาก ทานโปรตีน อาหารย่อยง่าย ปลา ถั่วเหลือง เลี่ยงอาหารดิบ สด ทะเล งดแอลกอฮอล์ และเป็นมากงดการออกเเรงเยอะ
Viral Hepatitis
การปฎิบัติตัว
รับประทานอาหารถูกสุขอนามัย
เลี่ยงแอลกอฮอล์
เลี่ยงสาร ยาที่มีผลต่อตับ
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ไม่แพร่เชื้อให้คนใกล้ตัว
พบเเพทย์ เพื่อประเมินการทำงานของตับ
ไวรัสตับอักเสบ
ไวรัสตับอักเสบ A พบทางเดินอาหาร
จาการทางอาหาร ดื้นมน้ำที่มีเชื้อ สัมผัสเชื้อ ระยะฟักตัวประมาณ 28 วัน วินิจฉัยระยะมีอาการ เคยรับเชื้อ ปัจจัยที่เสี่ยง คือ นักท่องเที่ยว ประเทศที่ระบาด พื้นที่แออัด รักร่วมเพศ การรักษาจะหายเอง หากพักพอ ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน ล้างมือหลังห้องน้ำ ก่อนปรุงอาหาร ดื้มน้ำต้มสุข
ไวรัสตับอักเสบ B ,C กลายเป็นเรื้อรัง
ตับอักเสบบีเรื้อรัง ตับเเข็ง มะเร็งตับ สามารถติดต่อทางแม่สู่ลูก สัมผัสสิ่งคัดหลั่ง น้ำ เลือด เข็ม จะมีอาการหลังรับเชื้อ ประมาณ 45-90 วัน หรือ180 วัน การรักษาโดยการ งดเเอลกอฮอล์ รับประทานยา Peg-Interferon, lamivudine , Tenofovir , Entecavir ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
ภาวะ ตับอักเสบเฉียบพลัน เรื้อรัง ตับเเข็ง มะเร็จตับ สุราเรื้อรัง อ้วนไขมันสะสม
ตับอักเสบ พบเอนไซม์ตับสูงกว่าปกติ จากการติดเชื้อไวรัส เเบคทีเรีย วัณโรคหรือเหล้า