Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่2 ผู้คลอด G3P2-0-0-2 last 2 ปี GA 38 สัปดาห์ - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่2
ผู้คลอด G3P2-0-0-2 last 2 ปี GA 38 สัปดาห์
มีภาวะสายสะดือพลัดตำ่
อาการและอาการแสด
ง
2.เห็นสายสะดือโผล่พ้นช่องคลอดออกมา
1.คลำพบสายสะดือจากการตรวจภายในอาจคลำได้ชีพจรเต้นบนสายสะดือเป็นจังหวะ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล มีภาวะสายสะดือพลัดตำ่
กิจกรรมการพยาบาลที่สำคัญ
2.ให้ออกซิเจน10-12LPM
3.ถ้าสายสะดือยื่นออกทางช่องคลอดให้ใช้ก๊อซชุบNSS ชุบห่อไว้
1.ลดการกดของสายสะดือและดูแลให้สิ้นสุดการตั้งครรภ์ ยกปลายเตียงให้สูงขึ้น ปรับท่าผู้คลอดให้ก้นสูงกว่าไหล่
-นอนหงายยกก้นสูง
-นอนตะแคงยกก้นสูง
4.bladedr filling เพื่อให้ bladder full โดยใส่nss 500-700 ccทาง foley's cath
5.หยุดให้oxytocin ถ้าได้รับยา
อ้างอิง:สถิติประจำปี Maternal-fetal medicine. หน่วยเวชศาสตร์มารดาและทารก ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2534- 2554
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
3.การตั้งครรภ์แผด/ครรภ์แผดนำ้
4.ทารกไม่ครบกำหนด
2.ภาวะที่มีการผิดสัดส่วนของส่วนนำทารกกับช่องทางคลอด
5.การเจาะถุงนำ้หรือถุงนำ้แตกก่อนที่ส่วนนำจะลงช่องเชิงกราน
1.ทารกท่าผิดปกติเช่นท่าก้นมีเท้ายื่นเป็นส่วนนำเป็นท่าขวาง
6.สายสะดือยาวกว่าปกติ
7.รกเกาะตำ่หรือสายสะดือเกาะริมขอบรก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ fetal distress
อาการและอาการแสดง
2.meconium stained ofamniotic fluid
3.ทารกดิ้นน้อยลง
1.abnormal FHR <110bpmหรือ>160bpm
4.ทารกมีภาวะเลือดเป็นกรด
สาเหตุ
Uteroplacental insufficiency
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนดได้รับยา
ภาวะตกเลือด
แม่เป็นGDM/HT
Umbilical cord compression
สายสะดือถูกกดขณะมดลูกหดรัดตัว
ภาวะนำ้ครำ่น้อยหรือสายสะดือพลัดตำ่
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ fetal distress
กิจกรรมการพยาบาลที่สำคัญ
1.จัดให้นอนตะแคงซ้าย
2.electronic fetal monitoring
3.ดุแลให้ออกซิเจนและสารนำ้ทางหลอดเลือดดำ
4.หยุดให้ยาoxytocin
5.เตรียมคลอด Emergency
อ้างอิง:มนตรีภูริปญญวาน ชิ
โรงพยาบาลเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา