Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 2 ผู้คลอดรายหนึ่ง G3P2-0-0-2 last 2 ปี GA 38 สัปดาห์ -…
กรณีศึกษาที่ 2
ผู้คลอดรายหนึ่ง G3P2-0-0-2 last 2 ปี GA 38 สัปดาห์
ความเสี่ยงทารกในครรภ์
มีโอกาสเกิดภาวะ Fetal distress
อาการและอาการแสดง
อัตราการเต้นของหัวใจผิดปกติ คือ 110<P>160 ครั้งต่อนาที
2.มีลักษณะของขี้เทาปนในน้ําคร่ํา
3.เลือดของทารกเป็นกรด
4.ทารกดิ้นน้อยลง
วินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะ Fetal distress
กิจกรรมพยาบาลที่สําคัญ
1.ประเมิน FHS ทุก 15 นาที ค่าปกติคือ 110-160/minเพื่อประเมินประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารก
2.ให้มารดานอนตะแคงซ้ายเพื่อไม่ให้มดลูกทับของInferior vena cavaให้เลือดไปเลี้ยงมดลูกได้ดีขึ้น
3.ให้ O2 Mask with bag 10 LPM/ O2 Canular 8-10LPMเพื่อช่วยเพิ่มออกซิเจนในกระแสเลือดของผู้คลอด ทําให้ทารกได้รับออกซิเจนเพิ่มขึ้น
4.ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
5.ตรวจภายใน เพื่อประเมินภาวะสายสะดือย้อย และประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
6.วัดความดันโลหิตอย่างเที่ยงตรง แม่นยํา เพื่อค้นหาภาวะความดันโลหิตต่ํา
7.ติด Monitor เฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของ อย่างต่อเนื่อง FHR เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของ FHR
นลพรรณ ศิริลักษณ์.(253).การดูแลมารดาที่มีภาวะ fetal distress.เอกสารวิธีการปฏิบัติงานโรวพยาบาลควนขนุน.(แก้ไขครั้งที่2).1-4.
สาเหตุหรือปัจจัย
ภาวะที่เลือดไหลเวียนไปที่รกไม่ดีหรือไม่เพียงพอ
1.แบบฉลับพลัน
มดลูกหดรัดตัวมากหรือแรง
เกินไป
รกลอกตัวก่อนกําหนด
รกเกาะต่ำ
2.แบบเรื้อรัง
การเจ็บป่วย เช่น โรคหัวใจ ปอด โลหิตจาง ภาวะพร่องออกซิเจน รกเสื่อม
จากการตั้งครรภ์เกินกําหนด
เยื่อหุ้มทารกอักเสบ
2.สายสะดือถูกกดทับ
สายสะดือย้อย สายสะดือพันคอ
ความเสี่ยงผู้คลอด
สายสะดือพลัดต่ำ
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
Malpresentation หรือ Malposition พบบ่อยในเด็กท่าขวาง
ช่องเชิงกรานไม่ได้สัดส่วนกับขนาดของศีรษะทารก
Twins Pregnancy เกิดจากส่วนนําไม่พอดีกับโพรงมดลูกส่วนล่าง หรือถุงน้ําแตกก่อนกําหนด
มีปริมาณน้ําคร่ํามากเกินไป จนส่วนนําไม่พอดีกับโพรงมดลูกส่วนล่าง
สายสะดือยาวกว่าปกติ
สายสะดืออยู่ใกล้กับปากมดลูก
Head float เมื่อถุงน้ําทูนหัวแตกหรือเจาะถุงน้ําทูนหัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายที่เป็นครรภ์หลัง
อาการและอาการแสดง
กรณีที่ถุงน้ําคร่ํายังไม่แตกเสียงหัวใจทารกเต้นช้าลง เมื่อมดลูกหดรัดตัว แล้วกลับขึ้นเป็นปกติเมื่อมดลูกคลายตัว
กรณีที่ถุงน้ําคร่ําแตกแล้วเกิดจะคลําได้สายสะดือชัดเจน หรือมองเห็นถ้าสายสะดือโผล่ออกมานอกช่องคลอด
เสียงหัวใจทารกเปลี่ยนทันทีภายหลังถุงน้ําคร่ําแตก
เสียงหัวใจทารกเปลี่ยนไปเนื่องจากการขาดออกซิเจน
สายสะดือเคลื่อนลงมาต่ํากว่าส่วนนําโดยที่ถุงน้ํายังไม่แตก สามารถคลําชีพจรบนสายสะดือผ่านถุงน้ำคล่ำได้
วินิจฉัยทางการพยาบาล
มีภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
กิจกรรมพยาบาลที่สําคัญ
4.ให้ออกซิเจนเพื่อให้ระดับออกซิเจนมารดาสูงขึ้น 10-12 LPM
เพื่อลดภาวะทารกในครรภ์ขาดออกซิเจนประมาณ
3.หลีกเลี่ยงการจับ คลํา กระตุ้นหรือผลักให้สายสะดือกลับเข้าไปในช่องคลอด เพราะจะกระตุ้นทําให้สายสะดือหดรัดตัว ส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงทารกได้ไม่ดี
5.เตรียมการช่วยเหลือการคลอดแบบฉุกเฉิน
2.ใช้มือข้างที่ตรวจภายในดันศีรษะทารกขึ้น เพื่อลดการกดบนสายสะดือ และดันศีรษะทารกตลอดเวลาที่เตรียมการผ่าตัด เมื่อมีการคลอดสิ้นสุดจึงถอนมือออกมา
ยกปลายเตียงให้สูงขึ้น หรือปรับท่าของผู้คลอดให้อยู่ในท่าที่ก้นสูงกว่าไหล่ เช่น นอนหงาย
ยกก้นสูง นอนตะแคงยกก้นสูง นอนในท่าโก้งโค้ง
6.ถ้าสายสะดือมีแนวโน้มจะโผล่ออกมานอก ควรพยายามให้อยู่ในช่องคลอด หากสาย
สะดือยื่นออกมานอกหนทางคลอดใช้ผ้าก๊อซชุบ NSS อุ่นห่อไว้ลด vasospasm ได้
7.ทําให้กระเพาะปัสสาวะเต็มโดยการใส่น้ําเกลือ 500 - 700 มิลลิลิตรทางสายสวนปัสสาวะเพราะเพื่อและลดความรุนแรงจากการหดรัดตัวของมดลูก
8.ดูแลภาวะจิตใจของผู้คลอด
แหล่งที่มา :นพวรรณ เทียมสิงห์.(2563).การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะสายสะดือย้อย.ผลงานประกอบการพจิารณาประเมินบุคคล