Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ตับอ่อนอักเสบ (Pancreatitis) - Coggle Diagram
ตับอ่อนอักเสบ
(Pancreatitis)
อาการ
อาการปวดมักจะเกิดที่บริเวณใต้ลิ้นปี่ (Epigastrium)
มีอาการช็อค เนื่องจากเลือดและพลาสม่าจำนวนมากเข้าไปสะสมอยู่ด้านหลังของเยื่อบุช่องท้อง (Retroperitoneal Space) และช่องว่างของเยื่อบุช่องท้อง (Peritoneal spaces)
กดหน้าท้องจะเจ็บ หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว
คลื่นไส้อาเจียน ผู้ที่มีอาการรุนแรงจะมีอาการขาดน้ำ
เหงื่อออก
มีไข้
สาเหตุ
ผู้ที่มีความเสี่ยง เช่น สูบบุหรี่ โรคทางเดินน้ำดีดื่มสุราเรื้อรัง
เคยได้รับการผ่าตัด พบมากในช่วงอายุ 35-64 ปีนิ่วในถุงน้ำดี การติดเชื้อ เช่น หัดเยอรมัน และ cytomegalovirus อุบัติเหตุหน้าท้อง ระดับไขมัน Triglyceride สูง ยาบางชนิดเช่น azathioprine , sulfonamides, corticosteroids, nonsteroidal anti - inflammatory drugs (NSAIDs),ยาปฏิชีวนะ เช่น tetracycline การผ่าตัดซึ่งทำให้เลือดไปเลี้ยงตับอ่อนลดลง
การอักเสบของตับอ่อน
การอักเสบเฉียบพลัน (Acute pancreatitis) เป็นการอักเสบที่รุนแรง ทำให้เซลล์ตับอ่อนบวม มีการตายของไขมัน ( Fat necrosis) และมีการตกเลือด
การอักเสบเรื้อรัง (Chronic pancreatitis) เป็นการอักเสบที่มีการทำลายโครงสร้างของเซลล์และมีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ของตับอ่อนอย่างถาวร แม้จะแก้ไขสาเหตุของโรคแล้ว
การวินิจฉัย
การเจาะเลือดตรวจได้แก่ CBC น้ำตาลในเลือด ระดับแคลเซียมในเลือด ค่า amylase ในเลือดหากค่าสูงก็หมายถึงตับอ่อนอักเสบการทำ Ultrasound หรือการตรวจ CT เพื่อดูโครงสร้างตับอ่อนการตรวจที่เรียกว่า ERCP เพื่อดูท่อน้ำดีและท่อตับอ่อนว่ามีนิ่วอุดตันหรือไม่
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคติดเชื้อ
ให้งดน้ำและอาหารในช่วงแรกของการรักษาเพื่อให้กระเพาะอาหารได้พัก
ให้น้ำเกลือและสารอาหาร ให้ยาแก้ปวด
หากมีนิ่วในถุงน้ำดีแพทย์มักจะแนะนำการผ่าตัด
ภาวะขาดอาหารเนื่องจากขาดเอ็นไซม์ในการย่อยอาหารแก้ไขโดยการให้เอ็นไซม์ช่วยย่อยปกติภาวะ metabolic ซึ่งจะแก้ไขโดยการให้อินซูลิน