Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษา - Coggle Diagram
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษา
ทฤษฎีการสื่อสารและการสื่อความหมาย
3.3) ประเภทการสื่อสาร ประกอบด้วย การสื่อสารในตนเอง การสื่อสารระหว่างบุคคล การสื่อสารแบบกลุ่มชน และการสื่อสารมวลชน
3.4) องค์ประกอบของการสื่อสาร ประกอบด้วย ผู้ส่งสาร เนื้อหา สื่อ ผู้รับ ผล และผลป้อนกลับ (feedback)
3.2) รูปแบบการสื่อสาร ประกอบด้วย การสื่อสารทางเดียว และการสื่อสาร 2 ทาง
3.5) ทฤษฎีการสื่อสาร
ทฤษฎีการสื่อสารทางเดียวเชิงเส้นตรงของแชนนันและวีเวอร์
ทฤษฎีการสื่อสารเชิงวงกลมของออสกูดและชแรมม์
ทฤษฎี SMCR ของเบอร์โล (Berlo)
3.1) การสื่อสาร หมายถึง การแลกเปลี่ยนความคิด หรือแสดงความรู้สึกออกมาเพื่อติดต่อสื่อสารข้อมูลซึ่งกันและกัน ประกอบด้วย วัจนภาษา อวัจนภาษา และจักษุสัมผัส
ปรัชญาและจุดมุ่งหมายการศึกษา
2) จุดมุ่งหมายการศึกษา (สมาคมการศึกษาของสหรัฐอเมริกา)
2.2) มนุษยสัมพันธ์
2.3) มีประสิทธิภาพในการครองชีพและเศรษฐกิจ
2.1) ความเจริญแห่งตน
2.4) มีความรับผิดชอบในหน้าที่พลเมือง
1) ความหมายของปรัชญา
ปรัชญา หมายถึง สืบค้นให้ถึงแก่นแท้ของธรรมชาติที่มีอยู่ในตัวมันเอง (อริสโตเติล)
3) จุดมุ่งหมาย Taxonomy of Education Objectives
3.2) จิตพิสัย
3.3) ทักษพิสัย
3.1) พุทธิพิสัย
จิตวิทยาการเรียนรู้ หมายถึง จิตวิทยาที่ใช้ในการถ่ายทอดความรู้
2) กลุ่มพุทธินิยม เชื่อว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นจากการปฏิบัติการทางจิตใจ
3) กลุ่มสร้างสรรค์นิยม เชื่อว่าความรู้สร้างขึ้นจากผลของกระบวนการเรียนรู้ เชื่อว่าผู้เรียนจะสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ได้ด้วยสิ่งที่ประสบพบเห็นด้วยตนเอง เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างและแปลความหมายสารสนเทศได้ด้วยตัวเอง
1) กลุ่มพฤติกรรมนิยม เชื่อว่าผู้เรียนมีการได้มาซึ่งพฤติกรรม ทักษะ และความรู้ เนื่องมาจากการตอบสนองต่อการได้รางวัลและการลงโทษ
4) วิธีระบบและการวิเคราะห์ระบบ
4.2) ความสำคัญของระบบ
เพื่อป้องกันการสับสน
เพื่อความสะดวกรวดเร็วและไม่เกิดความซ้ำซ้อน
ประหยัดเวลาและงบประมาณ
การทำงานสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
4.1) ระบบ หมายถึง ศูนย์รวมทั้งหมด ประกอบด้วยส่วนย่อยหรือส่วนต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน อาจเกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ เช่น ระบบย่อยอาหาร หรืออาจเกิดขึ้นจากสิ่งต่างๆ ที่ออกแบบและสร้างสรรค์ขึ้นมาอย่างมีระเบียบแล้วนำสิ่งเหล่านั้นมารวมกันเพื่อดำเนินงานให้บรรลุไปตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้
4.3) องค์ประกอบของระบบ
ข้อมูล (input) เพื่อป้อนเ้าสู่ระบบ
กระบวนการ (process) เป็นการดำเนินงาน
ผลลัพธ์ (output) เป็นผลผลิตที่ได้จากการดำเนินงานในขั้นของกระบวนการสิ้นสุดลง
ควบคุม (controll) เป็นการควบคุมและตรวจสอบเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภ่พ
ข้อมูลป้อนกลับ (feedback) เป็นการนำเอาผลลัพธ์ที่ประเมินนั้นมาพิจารณาว่ามีข้อบกพร่องอะไรบ้าง
4.4) การนำเทคโนโลยีการสอนมาใช้ในการจัดระบบการสอน ต้องพิจารณา ผู้เรียน วัตถุประสงค์ วิธีการและกิจกรรม และการประเมิน
4.5) การออกแบบระบบการสอน (Instrutional System Design) หรือ (ISD) คือ กระบวนการวางแผนในการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ระบบการสอนส่วนใหญ่มีกรอบการออกแบบ 5 ขั้นตอนหลัก เรียกว่า Addie Model ประกอบด้วย การวิเคราะห์ ออกแบบ การพัฒนา ดำเนินการ และประเมิน