Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะ Prolapsed cord ส่งผลให้ทารกในครรภ์มีภาวะสมองขาดออกซิเจน…
ภาวะ Prolapsed cord ส่งผลให้ทารกในครรภ์มีภาวะสมองขาดออกซิเจน ทารกได้รับบาดเจ็บจากการกช่วยคลอดเร่งด่วน
-
อาการและอาการแสดง
-
-
-
-Occult prolapsed of cord แล้วพบ variable deceleration หรือ Bradycardia จาก EFM อาจเกิด cord compression
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ทารกในครรภ์มีโอกาสเกิดภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากปริมาณเลือดที่ไหลเวียนไปสู่ทารกน้อยลงจากการเกิดสายสะดือถูกกดทับ
- การทำให้ทารกคลอดออกมาโดยเร็วโดยที่สุด การผ่าคลอด
เพื่อลดอันตรายที่เกิดจากสายสะดือ ถูกกดเบียด ซึ่งหากทารกยังมีชีวิตอยู่ ให้ผ่าตัดคลอด เนื่องจากเป็นวิธีที่ปลอดภัยและรวดเร็ว โดยปัจจัยที่สำคัญ คือ ระยะเวลาตั้งแต่การ เกิดสายสะดือย้อยจนถึงเวลาผ่าตัดคลอด
- ระหว่างเตรียมผ่าตัดคลอด ควรทำ intrauterine resuscitation
-
-
4.จับต้องสายสะดือที่ย้อยลงมาในช่องคลอด หรือส่วนที่ออกมาอยู่นอกปากช่องคลอด ให้น้อยที่สุด และดูแลไม่ให้สายสะดือที่ย้อยออกมากระทบความเย็น โดยการหา ผ้าอุ่นหุ้มสายสะดือที่โผล่พ้นช่องคลอดออกมา เพราะความเย็นจะทำให้เกิดการหดเกร็งของเส้นเลือดที่สายสะดือมากยิ่งขึ้น
-
5.การทำ Funic decompression
โดยผู้ตรวจใส่ถุงมือปราศจากเชื้อ ใช้นิ้วมือ 2 นิ้ว คือ นิ้วชี้และนิ้วกลางสอดเข้าทางช่องคลอดดันส่วนนำให้สูงขึ้น ห้ามดันหรือผลักสายสะดือเข้าไปในโพรงมดลูก เพราะจะทำให้เกิด อันตรายต่อทารกมากขึ้น เนื่องจากการหดเกร็งของเส้นเลือดที่สายสะดือ
-
6.จัดให้มารดานอนท่านอนหงายก้นสูงโดยจัดให้ศีรษะอยู่ต่ำและใช้หมอนรอง ส่วนก้นให้สูง หรือท่านอนตะแคงยกก้นสูง หรือท่าโก้งโค้ง
-
- การทำ Bladder filling
ใส่สายสวนปัสสาวะ แล้วใส่น้ำเกลือ (normal saline solution) ประมาณ 500- 700 มิลลิลิตร
เพื่อให้กระเพาะปัสสาวะเต็มและโปุงจนไปดันส่วนนำของทารก ในครรภ์ให้ลอยสูงขึ้น หลังจากนั้นใส่น้ำกลั่นประมาณ 10 มิลลิลิตร เข้าไปในบอลลูน ของสายสวนปัสสาวะ เพื่อป้องกันการเลื่อนหลุด แล้วต่อลงถุงปัสสาวะ และใช้ ตัวหนีบหนีบสายสวนปัสสาวะไว้