Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษา - Coggle Diagram
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษา
จิตวิทยาการเรียนรู้
ความหมายของจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้ = จิตวิยาที่ใช้ในการถ่ายความรู้
การเรียนรู้ คือ พัฒนาการของความรู้ใหม่ทักษะหรือทัศนคติที่บุคคลได้รับจากสารสนเทศและสิ่งแวดล้อมรอบตัว ซึ่งการเรียนรู้จะต้องเกิดมาจากพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างถาวรหรือเกิดจากการฝึกฝนในอนาคต
ทฤษฎีการเรียนรู้
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
เป็นการดูพฤติกรรมที่เกิดขึ้นทั้งหมดเป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก ผู้เรียนมีได้มาของพฤติกรรม ทักษะและความรูํ เนื่องจากการตอบสนองต่อการได้รางวัลและลงโทษ
การเรียนรู้เป็นกระบวนการเชิงบวก
กลุ่มพุทธินิยม
มีมุมมองตรงข้ามกับกลุ่มพฤติกรรมนิยม มุ่งเน้นด้านจิตใจ ไม่ให้ความสําคัญพฤติกรรมภายนอก
เชื่อว่าการเรียนรู้เป็นสิ่งที่ซับซ้อนมากกว่าเรื่องของสิ่งเร้าและการตอบสนองที่ควบคุมและสังเกตได้
เชื่อว่าการเรียนรู้เกิดจากการปฏิบัติการทางจิตใจ
กลุ่มสร้างสรรค์นิยม
เชื่อว่าความรู้สร้างขึ้นจากผลของกระบวนการเรียนรู้ ความรู้แบบลักษณะเฉพาะของบุคคล
ผู้เรียนจะสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ ได้ด้วยสิ่งที่มองเห็นด้วยตนเอง
เน้นผู้เรียนสามารถให้สร้างและแปลความหมายสารสนเทศได้ด้วยตัวเอง
ปรัชญาและจุดมุ่งหมายการศึกษา
ความหมายของปรัชญา
อริตโตเติ้ล ได้กล่าวไว้ว่า ปรัชญา คือ สารที่สืบค้นให้ถึงแก่นแท้ของธรรมชาติที่อยู๋ในตัวมันเอง
สวามี สัตยานันท ปุรี ได้อธิบายเป็นภาษาสันสกฤต ปุรุ = ประเสริฐ ชุญา = ความรู้ ปรัชญา = ความรู้อันประเสริฐ
เพลโต ได้กล่าวไว้ว่า ปรัชญามีจุดมุ่งหมายในการหยั่งรู้ในสภาวะนิรันดรและธรรมชาติจริงของสิ่งทั้งหลาย
การศึกษา
ความหมายของการศึกษา
ศ. ศิวลักษณ์
2.ทฤษฎีต่างๆที่พยายามจะอธิบายหรือให้เหตุผลในการถ่ายทอด
คุณค่าหรืออุดมคติต่างๆที่มนุษย์พยายามจะเข้าถึงโดยอาศัยความรู้ ทักษะ ทัศนคติ
วิธีการต่างๆที่ถ่ายทอดความรู้
สาโรช บัวศรี สรุปว่า การศึกษาคือการพัฒนาขึ้นมาในทางที่พึงประสงค์
จุดมุ่งหมายการศึกษา
Taxonomy of Educational objectives
ทักษะพิสัย เป็นจุดมุ่งหมายมางทักษะการเคลื่อนไหว มุ่งใช้อวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย
จิตพิสัย เป็นจุดมุ่งหมายที่เกี่ยวกับจิตใจเกี่ยวกับความรู้สึกและอารมณ์
พุทธิพิสัย เป็นจุดมุ่งหมายที่เกี่ยวข้องกับความรู้ การเรียนรู้ และความคิด
คิว แพทริก กล่าวว่า จุดมุ่งหมายทางการศึกษาเพื่อให้เยาวชนมีชีวิตที่ดี สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ดีการศึกษาจะเสริมสร้างบุคลิกภาพให้เยาวชนมีชีวิตที่ดีตามความประสงค์
เฮอร์เบิร์ตสเปนเซอร์ กล่าวไว้ว่า จุดมุ่งหมายการศึกษาต้องเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการดำรงชีวิตในสังคมมากกว่าที่ซึ่งการถ่ายทอดวัฒนธรรมและประเพณี
สมาคมการศึกษาของสหรัฐอเมริกา
2.มนุษย์สัมพันธ์ คือ รู้จักเคารพผูอื่น มีมารยาทตามประเพณีนิยม มีน้ำใจ
3.มีประสิทธิภาพในการครองชีพและเศรษฐกิจ คือ การเลือกอาชีพที่เหมาะสมแก่ตนเอง ปรับปรุงการทํางาน รู้จักการวางแผนเศรษฐกิจของตนเองในการใช้จ่าย
1.ความเจริญแห่งตน คือ รักในการเรียน ใช้ความรู้ให้เป็นประโยชน์แก่ตนเองและสังคม
4.มีความรับผิดชอบในหน้าที่พลเมืองดี คือการรู้จักหน้าที่ของตน คิดอย่างมีเหตุผล เคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
ความหมายของปรัชญาการศึกษา
จอร์จ เนลเลอร์ ปรัชญาการศึกษาก็คือ เป็นการแสวงหาความเข้าใจในเรื่องของการศึกษาทั้งหมด แล้วอธิบายแนวความคิดนั้นไปสู่เรื่องของจุดมุ่งหมายทางการศึกษาและนโยบายทางการศึกษาจุดมุ่งหมายการศึกษา
ภิญโญ สาธร ได้กล่าวไว้ว่าปรัชญาการศึกษาตามรูปศัพท์นั้นหมายความว่าวิชาที่ว่าด้วยความรู้อันเกี่ยวกับการศึกษา ความรู้อันเกี่ยวกับการศึกษานั้นหมายถึงทั้งที่เป็นวัตถุประสงค์ของการศึกษาเนื้อหาวิชาและวิธีการให้การศึกษา
ทฤษฎีการสื่อสารและการสื่อสารความหมาย
ความหมายของการสื่อสาร
การถ่ายทอดเรื่องราว การแลกเปลี่ยนความคิดและการแสดงความคิดและความรู้สึกออกมา เพื่อติดค่อสื่อสารข้อมูลซึ่งกันและกัน
วิธีของการสื่อสาร
การสื่อสารด้วยวาจาหรือ วัจนภาษา
การสื่อสารที่ไม่ใช่วาจาหรือ อวัจนภาษา
การสื่อสารด้วยการใช้จักษุสัมผัสหรือการเห็น
รูปแบบการสื่อสาร
การสื่อสารทางเดียว เป็นการส่งข่าวสารและข้อความไปหาผู้รับเพียงฝ่ายเดียวโดยผู้รับไม่สามารถตอบสนองกับผู้ส่งได้ทันที
การสื่อสารสองทาง เป็นที่ผู้รับตอบสนองกลับมายังผู้ส่งในทันที และทั้งสองฝ่ายสามารถตอบโต้กันได้
ประเภทของการสื่อสาร
การสื่อสารในตนเอง คือบุคคลนั้นเป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับในเวลาเดียวกัน
การสื่อสารมวลชน เป็นการสื่อโดยใช้สื่อวิทยุ โทรทัศน์หนังสือพิมพ์ เพื่อติดต่อไปยังคนหมู่มากหรือมวลชน
การสื่อสารระหว่างบุุคล เช่นการเขียนจดหมายโต้ตอบกัน
การสื่อสารแบบกลุ่มชน เช่น ครูกับนักเรียน
องค์ประกอบของการสื่อสาร
เนื้อหาหรือเรื่องราว
สื่อและช่องทางในการนำสื่อ
ผู้รับหรือกลุ่มเป้าหมาย
ผล
ผู้ส่งสารหรือต้นแหล่งของการส่ง
ผลป้อนกลับ(การตอบสนองของผู้รับ)
ระยะของการสื่อสาร
การสื่อสารระยะใกล้ เป็นการส่งสารที่ผู้ส่งสารและรับสารอยู่ต่อหน้ากัน และมีการสื่อสารระหว่างกัน
การสื่อสารระยะไกล คือ การส่งข้อมูลสารสนเทศจากผู้ส่งไปยังผู้รับที่อยู่ไกลออกไป โดยผู้รับมีอุปกรณ์รับสัญญาณ
ทฤษฎีการสื่อสาร
การสื่อสารทางเดียวเชิงเส้นตรงของแชนนันและวีเวอร์
การสื่อสารเชิงวงกลมของออสกูดและชแรมม์
ทฤษฎี SMCR ของเบอร์โล
วิธีระบบและวิเคราะห์ระบบ
ความหมายของระบบ
ส่วนรวมทั้งหมด ประกอบด้วยส่วนย่อยหรือสิ่งต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน ซึ่งอาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ รวมถึงสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาให้เป็นระเบียบและนำสิ่งเหล่านั้นมารวมกัน เพื่อสามารถดำเนินงานตามจุดมุ่งหมายที่ได้วางไว้
ความสำคัญของระบบ
เพื่อป้องกันความสับสน
เพื่อความสะดวกรวดเร็ว และไม่เกิดความซ้ำซ้อนในการทำงาน
ประหยัดเวลาและงบประมาณ
การทำงานสำเร็จตามวัตถุประสงค์
องค์ประกอบของระบบ
ผลลัพธ์ เป็นผลผลิตที่ได้จากการดำเนินงานในขั้นของกระบวนการสิ้นสุดลง
กระบวนการ เป็นการดำเนินงาน
ควบคุม เป็นการควบคุมและตรวจสอบเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อมูล เป็นตัวป้อนเข้าสู่ระบบ
ข้อมูลป้อนกลับ เป็นการนำเอาผลลัพธ์ที่ประเมิณนั้น มาพิจารณาว่ามีข้อบกพร่องอะไรบ้าง
การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดระบบการสอน
การออกแบบระบบการสอน
ISD (Instructional System Design : ISD)
คือ กระบวนการวางแผนในการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ มีทฤษฎีทางการเรียนรู้และจิตวิทยาการศึกษาแนวทาง เพื่อให้ได้ระบบการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ
ADDIE Model
Development (การพัฒนา)
Implement (การดำเนินการ)
Analysis (การวิเคราะห์)
Evaluation (การประเมินผล)
Design (การออกแบบ)
สิ่งที่ต้องวิเคราะห์และพิจารณา
ผู้เรียน
วัตถุประสงค์
วิธีการและกิจกรรม
การประเมิน