Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
9.Head injury การบาดเจ็บที่ศีรษะ - Coggle Diagram
9.Head injury
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
สาเหตุ
อุบัติเหตุการณ์จราจร
มีวัตถุหล่นจากที่สูงลงมากระแทกศีรษะ
หกล้ม ตกจากที่สูง ศีรษะกระแทกพื้น
ถูกตีที่ศีรษะ
ทารกคลอดยากทำให้ศีรษะได้รับการกระทบกระเทือน
อาการ
การบาดเจ็บอาจมีแผลเพียงเล็กน้อย หรือฟกช้ำที่หนังศีรษะ ซึ่งไม่มีอันตรายร้ายแรงแต่อย่างใด
มีการบาดเจ็บรุนแรง จนมีความผิดปกติเกิดขึ้นในสมอง
สมองได้รับการกระทบกระเทือน ( brain concussion) หมดสติไปเพียงชั่วครู่ป็นชั่วโมงๆแต่จะไม่เกิน 24 ชั่วโมง เมื่อฟื้นแล้วจะรู้สึกงุนงง จำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้
สมองฟกช้ำ ( brain contusion ) หรือสมองฉีกขาด ( brain laceration ) ผู้ป่วยจะหมดสติ หลังบาดเจ็บทันที
เลือดออกในสมอง ( intracranial hemorrhage)มีอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ซึมลงเรื่อยๆ แขนขาเป็นอัมพาต ตัวเกร็ง ชีพจรเต้นช้า หายใจตื้นขัด ความดันเลือดสูง คอแข็ง รูม่านตาสองข้างไม่เท่ากัน
การรักษาพยาบาลขั้นต้น
1.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ โดยดูดเสมหะอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
ดูแลให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะความดันในสมองสูง โดยจัดให้นอนท่าศีรษะสูงประมาณ 30 องศา ไม่หนุนหมอน
3.วัดสัญญาณชีพและอาการทางระบบประสาททุก 1-2 ชั่วโมง
4.จัดท่าให้นอนศีรษะสูง เปลี่ยนท่าให้ทุก 1-2 ชั่วโมง
5.สังเกตอาการของภาวะความดันในสมองสูง เช่น อาการปวดศีรษะ ระดับความรู้สึกตัวลดลง ตาพร่ามัว เป็นต้น หากพบอาการผิดปกติรายงานให้แพทย์ทราบ
6.แนะนำให้หลีกเลี่ยงการไอ จาม การเบ่งถ่าย เพื่อหลีกเลี่ยงการเพิ่มความดันในช่องอก (Valsalva’s maneuver)
7.ให้พักผ่อนและควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
8.ให้ยาลดความดันในสมองตามแผนการรักษา เช่น Mannitol, Furosemide เป็นต้น