Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6.Peritonitis เยื่อบุช่องท้องอักเส…
6.Peritonitis เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
สาเหตุ
1.จุลชีพ ได้แก่ ไวรัส ปรสิต แบคทีเรีย เชื้อแบคทีเรียที่พบมากที่สุด
Escherichia coli
Klepsiella
Proteus
Pseudomonas
ไม่ใช่จุลชีพ ได้แก่
สารเคมี สิ่งแปลกปลอม เข้าทางแผลหรือมีการทะลุของทางเดินอาหารพบบ่อยที่สุดคือ
การแตกของไส้ติ่งอักเสบ และลำไส้ทะลุ
อาจเกิดจากการผ่าตัดช่องท้องและการล้างไตทางช่องท้อง(Peritoneal dialysis)
อาการ
มีไข้ มักสูงเกิน 38 องศาเซลเซียส
กระหายน้ำ ปากแห้ง คอแห้ง ปัสสาวะออกน้อย
ปวดท้องทั่วๆ ไป รุนแรง เฉียบพลัน กดเจ็บ (Tenderness) ที่หน้าห้อง กดเจ็บเมื่อปล่อยมือ (Rebound tenderness)
คลื่นไส้ อาเจียน อาจพบอาการแข็งเวลากด (Garding) หน้าท้องแข็งเกร็งเหมือนกระดาน (Rigidity)
หน้าท้องโป่งตึง เคาะได้เสียงโปร่ง
เสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง ท้องอืด สำไส้เคลื่อนไหวน้อยลง หรือหยุดการเคลื่อนไหว (Paralytic ileus)
เบื่ออาหาร
การรักษาพยาบาลขั้นต้น
ข้อวินิจฉัยพยาบาลก่อนผ่าตัด
มีภาวะขาดสารน้ำเเละเกลือเเร่เนื่องจากการอักเสบเเละติดเชื้อ
ขาดความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวในการผ่าตัด
มีการติดเชื้อในช่องท้องไม่สุขสบายเนื่องจากปวดท้องจากการอักเสบ
ข้อวินิจฉัยพยาบาลหลังผ่าตัด
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเเผลผ่าตัดเนื่องจากการติดเชื้อในช่องท้องยังไม่หมด
มีภาวะขาดสารน้ำเเละเกลือเเร่จากการงดน้ำเเละอาหารเเละสูญเสียทางร่างกาย
เจ็บปวดบาดเเผลช่องท้องเนื่องจากเนื้อเยื่อบาดเจ็บจากการผ่าตัด
การพยาบาล
1.ดูแลให้สารน้ำตามแผนการรักษา
2.ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
3.สังเกตอาการปวดและให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
4.จัดท่านอนในท่าที่สุขสบายให้โดยให้นอนงอเข่า
5.ดูแลให้ยาคลายกังวลตามแผนการรักษาของแพทย์
6.บันทึกสารน้ำเข้า-ออก เพื่อประเมินความสมดุลของสาน้ำในร่างกาย
7.ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
8.ดูแลให้ยาลดอาการคลื่นไส้อาเจียนตามแผนการรักษา
9.ดูแลใส่ NG tube เพื่อลดสารคัดหลั่งในกระเพาะอาหาร