Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.Peptic Ulcer โรคแผลในกระเพาะอาหาร - Coggle Diagram
5.Peptic Ulcer
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
สาเหตุ
เกิดจากการเสียสมดุลระหว่างปัจจัยที่ทําให้เกิดการหลั่งกรด (aggressive factor) เช่น Hcl และ pepsin ,Parietal cell กรรมพันธุ์ ภาวะเครียด เช่น ช็อค แผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก การบาดเจ็บ ซึ่งทำให้การไหลเวียนโลหิตบริเวณ gastric mucosa ลดน้อยลงส่งผลรบกวน mucosal barrierและแบคทีเรีย(Helicobactor pylori) ทําให้เกิดแผลขึ้น และการดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ การใช้ยา กลุ่ม NSAIDs
อาการ
• Sudden and severe upper abdominal pain
• Severely distressed, lying quietly with the knees drawn up and breathing shallowly to minimize abdominal motion
• Fever is absent at the start but spikes within
12-24 hours
• Abdominal rigidity (board-like rigidity)
• Abdominal distention
การรักษาพยาบาลขั้นต้น
1) บรรเทาอาการเจ็บปวด
ให้ยาตามแผนการรักษา
ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างเพียงพอเนื่องจากการที่ร่างกายมีกิจกรรมนั้นเป็นการกระตุ้นทําให้เกิดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหารมากขึ้น
การแนะนําให้ผ่อนคลายความเครียดเพื่อลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
หลีกเลี่ยงอาหารที่กระตุ้นการหลั่งกรด เช่น แอลกอฮอลล์เครื่องดื่มและอาหารที่มีคาเฟอีน รวมทั้งนมอาหารที่มีครีมเป็นส่วนประกอบรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 3 มื้อหลัก
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นเรื่อง Hemorrhage, perforation, และ obstruction
สังเกตอาการเลือดออกในระบบทางเดินอาหารไม่ว่าจะเป็นอาเจียนเป็นเลือด (hematemesis) หรือถ่ายอุจจาระเป็นเลือด พร้อมกับการตรวจหา occult blood
การบันทึกสัญญาณชีพ และระดับความรู้สึกตัว ในรายที่เสียเลือดมาก
สังเกตอาการลําไส้ทะลุในช่วงแรกผู้ป่วยจะมีอาการปวดแน่นอย่างทันทีทันใดบริเวณ midepigastricและจะกระจายไปทั่วท้อง
การใส่สาย N-G tube ตามแผนการรักษา
ให้สารน้ําตามแผนการรักษา เพื่อคงไว้ซึ่งสมดุลของสารน้ําในร่างกาย
ให้คําแนะนําก่อนการกลับบ้าน
แนะนําให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารพออิ่มไม่แน่นท้องเกินไป
หลีกเลี่ยงปัจจัยส่งเสริมทําให้เกิดอาการ ยาที่มีผลต่อกระเพาะอาหาร เช่น aspirin, steroids
สังเกตอาการของภาวะแทรกซ้อน เช่น อุจจาระสีดํา อาเจียนมีเลือดปน ปวดท้อง ท้องอืด
การมาพบแพทย์ตามนัด
ให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจในสิ่งต่อไปนี้
แผนการใช้ยา วิธีการ ชนิดของยา ระยะเวลาการให้ยา และฤทธิ์ข้างเคียงของยา
ความสําคัญของการรับประทานยาอย่างสม่ําเสมอและอันตรายที่จะเกิดขึ้นจากการหยุดยาหรือรับประทานยาไม่สม่ําเสมอ
ผลของการรักษาด้วยยาเหล่านี้ อาการปวดบริเวณลิ้นปี่และอื่น ๆ ควรจะบรรเทาหลังรับประทานยาไปแล้ว 2 สัปดาห์ ถ้าไม่ดีขึ้นควรมารับการตรวจวินิจฉัยจากแพทย์
ไม่ควรเปลี่ยนยาหรือซื้อยามารับประทานเองเน้นให้การปฏิบัติตัวตามคําแนะนําถูกต้องสม่ําเสมอมารับประทานเองเน้นให้การปฏิบัติตัวตามคําแนะนําถูกต้องสม่ําเสมอจะช่วยให้หายเร็วขึ้นและ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้