Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 กลไกการคลอด - Coggle Diagram
บทที่4 กลไกการคลอด
ข้อบ่งชี้ในการตรวจภายใน ผู้คลอดควรได้รับการตรวจภายใน
สงสัยว่าทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกต
ก่อนการสวนอุจจาระให้กับผู้คลอด
เมื่อเจ็บครรภ์ถี่ และรุนแรงขึ้น สงสัยว่าปากมดลูกเปิดหมด
ในรายถุงน้ำทูนหัวแตกทันทีนึกถึงภาวะ fetal distress จาก prolapsed of umbilical
cord
ในรายระยะของการคลอดล่าช้า (Prolonged stage of labor)
ผู้คลอดที่อยู่ในระยะที่หนึ่งของการคลอด ตรวจดูความก้าวหน้าของการคลอด
ระหว่าง หรือภายหลังการซ่อมแซมแผลฝีเย็บโดยตรวจทางทวารหนัก
ผู้คลอดรับใหม่ทุกราย ยกเว้นมี bleeding per vagina, head float
ผู้คลอดรู้สึกอยากเบ่งหรือเริ่มเบ่ง เพื่อทราบว่าปากมดลูกเปิดหมดหรือยัง จะเบ่งได้หรือยัง
กลไกการคลอดปกติมีทั้งหมด 7 ขั้นตอนดังนี้
Engagement การเคลื่อนเข้าสู่อุ้งเชิงกรานของศีรษะ
• Flexion การก้มของศีรษะทารกจนคางชิดหน้าอก
• Internal rotation การหมุนของส่วนศีรษะทารก ที่เกิดขึ้นภายในช่องเชิงกราน
• Extension การที่ศีรษะทารกเงยหน้าผ่านพ้นช่องคลอดออกมาภายนอก
• Restitution การหมุนกลับของศีรษะทารกภายนอกช่องคลอด 45 องศา
• External rotation การหมุนของศีรษะต่ออีก 45 องศา
• Expulsion คือการขับเคลื่อนเอาตัวทารกออกมาทั้งหมด
การเจ็บครรภ์จริงสามารถแบ่งเป็น 3 ระยะคือ
ระยะแรกของการเจ็บครรภ์ (First stage of labor) หมายถึง ระยะเจ็บครรภ์ที่มดลูก หดรัดตัว และปากมดลูกเริ่มเปิดจนปากมดลูกเปิดหมดหรือ 10 เซนติเมตร ระยะนี้สามารถแบ่ง
ออกเป็น 2 ระยะ คือ
– Latent phase หมายถึง ระยะที่เริ่มตั้งแต่เจ็บครรภ์จริง (In labor) จนปาก
• มดลูกเปิด 3 เซนติเมตร ปกติใช้เวลาไม่เกิน 8 ชั่วโมง
1.2 Active phase หมายถึง ระยะที่ปากมดลูกเปิด 3 ชั่วโมง (ร่วมกับมีการเจ็บครรภ์จริง)
จนปากมดลูกเปิด 10 เซนติเมตร ปกติจะมีอัตราการเปิดของปากมดลูก 1 เซนติเมตร ต่อชั่วโมง หรือ
มากกว่าน
ระยะที่สองของการเจ็บครรภ์ (Second stage of labor) หมายถึง ระยะเบ่งคลอด คือ
หลังจากปากมดลูกเปิดหมดแล้ว (10 เซนติเมตร) จนถึงทารกคลอด
ระยะที่สามของการเจ็บครรภ์ (Third stage of labor) หมายถึง ระยะหลังทารก
คลอด จนกระทั่งรกคลอด
หลักการช่วยคลอดปกติ
การเตรียมคลอด
การช่วยเหลือการคลอด
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ในระยะเเรกรับ
การตรวจหาตำแหน่ง Ischial spines
ตรวจหาท่าของทารก (Position)