Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเกิดกระแสประสาท action_potential_med - Coggle Diagram
การเกิดกระแสประสาท
ระยะพัก (resting potential หรือ polarization)
เป็นระยะก่อนที่เซลล์ประสาทจะถูกสิ่งเร้ากระตุ้น เซลล์มีศักย์ไฟฟ้าเยื่อเซลล์ - 70 mv
ระยะดีโพลาไรเซชัน (depolarization)
เซลล์จะถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าที่แรงพอ เรียกว่า threshold level จะทำให้ศักย์ไฟฟ้าเยื่อเซลล์เพิ่มสูงขึ้นถึง - 55 mv
ระยะรีโพลาไรเซชั่น (repolarization)
เมื่อศักย์ไฟฟ้าเยื่อเซลล์เพิ่มขึ้นจนถึง + 40 mv แล้ว voltage - gated Na+ channel จะหยุดทำงาน
ระยะไฮเปอร์โพลาไรเซชั่น (hyperpolarization หรือ undershoot)
แม้การเกิด repolatization จะทำให้ศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์กลับมาที่ - 70 mv
การถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์
รูปแบบการไซแนปส์ มี 2 ชนิด คือ
การไซแนปส์เคมี (chemical synapse)
เป็นการส่งสัญญาณจากเซลล์หนึ่งไปอีกเซลล์หนึ่งโดยใช้"สารสื่อประสาท"ที่บรรจุในถุง synaptic vesicle ข้อดีคือควบคุมการตอบสนองของเซลล์รับสัญญาณได้ดี ข้อเสียคือทำงานช้ากว่าไซแนปส์ไฟฟ้า
การไซแนปส์ไฟฟ้า (electrical synapse)
เป็นการแพร่ของไอออนจากเซลล์หนึ่งไปอีกเซลล์หนึ่งโดยตรง ผ่านช่องเล็กๆเรียกว่า "gap junction" ข้อดีจะเกิดได้อย่างรวดเร็ว ข้อเสียคือ ควบคุมทิศทางได้ยาก พบในสัตว์ที่มีระยะระบบประสาทแบบร่างแห
สารเคมีที่ส่งผลการไซแนปส์
สารที่ส่งผลให้เกิดกระแสประสาทมากเกินไป
amphetamine
caffeine
cocaine
สารที่ส่งผลยับยั้งการส่งกระแสประสาท
พิษจากปลาปักเป้า
พิษงู (venom)
พิษจาก C.botulinum
ยาระงับประสาท
ปัจจัยที่มีผลต่อความเร็วในการนำกระแสประสาท
2.จำนวนเยื่อหุ้มไมอีลิน (myelin sheath)
3.ระยะห่างระหว่างโนดออฟแรนเวียร์
4.จำนวนไซแนปส์ (synapse)
1.ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเซลล์ประสาท