Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ต้นกล้าไร้ถัง โรงเรียนอนุบาลทับสะแก - Coggle Diagram
ต้นกล้าไร้ถัง โรงเรียนอนุบาลทับสะแก
แนวคิดที่มา
จัดการขยะที่ต้นทาง
แหล่งเรียนรู้การจัดการขยะที่ต้นทาง
ลดขยะที่ต้นทาง
ผลลัพธ์ความสำเร็จ
1) ปริมาณขยะโดยรวมลดลง จาก 7 ตัน/วันในปี 2558 ลงมาเหลือ 6.41 ตัน/วัน ในปี 2563
2) ปริมาณขยะที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เพิ่มขึ้นจาก 0.27 ตัน/วัน (คิดเป็นสัดส่วน 3.8%)
ในปี 2558 มาเป็น 5.13 ตัน/วัน (คิดเป็นสัดส่วน 80%) ในปี 2563
3) ปริมาณขยะที่เหลือนำไปกำจัด ลดลงจาก 6.73 ตัน/วันในปี 2558 ลงมาเหลือ 1.27 ตัน/วันในปี2563
โรงเรียนอนุบาลทับสะแก ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกไปได้ 18.39 tCO2e (19 เดือน)
โรงเรียนอนุบาลทับสะแก ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกไปได้ 0.97 tCO2e/เดือน
โรงเรียนอนุบาลทับสะแก ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกไปได้ 11.64 tCO2e/ปี
หากมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการ 50 โรงเรียนจะลดก๊าซฯ ไปได้ 582.00 tCO2e/ปี
หากมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการ 100 โรงเรียนจะลดก๊าซฯ ไปได้ 1,164.00 tCO2e/ปี
ความท้าทาย
การที่จะต้องเป็น “ผู้นำการเปลี่ยนแปลง” ที่จะต้องตัดสินใจเปลี่ยน
การปฏิบัติตามค่านิยมในการดำเนินงาน
การสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้อง
การสร้างความร่วมมือของเครือข่ายดำเนินงาน
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
แนวคิดในการดำเนินโครงการที่ชัดเจน ปฏิบัติได้ เห็นผล วัดผลได้
โรงเรียนต้นแบบอนุบาลทับสะแก มีความเข้มแข็ง มีทีมเวิร์คที่ดีในการดำเนินโครงการ
การเห็นความสำคัญของโครงการและได้รับการสนับสนุน จากองค์กรเอกชนอย่าง
บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน)
ความมุ่งมั่นในหลักการ วิธีปฏิบัติ ที่ต้องไม่ย่อท้อ และพิสูจน์ผลงานเทียบกับ
รูปแบบอื่น
ระบบการบริหาร จัดการ และติดตามผลโครงการ
วัตถุประสงค์
สร้างการรับรู้
เกิดศูนย์การเรียนรู้
พัฒนาหลักสูตร
แนวทางการหารรายได้
แนวทางการดำเนินงาน
กิจกรรมโรงอาหารไร้ถังขยะ
กิจกรรมน้ำล้างถุงนมหมัก
กิจกรรมกรีนโคนช่วยได้
กิจกรรมใบไม้คืนชีวิต
การจัดการวัสดุย่อยสลายได้
คัดแยกรื่นรมย์
ทำอย่างไรกับถุงเท้า
ถุงนมร้อยรัก
อิฐรักษ์โลก (Ecobricks)
เป้าหมาย
สร้างความเข้าใจ
ขยายภาคีเครือข่าย
ติดตามประเมินผล
กระบวนการดำเนินงาน
1.กำหนดนโยบายและเป้าหมาย
2.สร้างความรู้ความเข้าใจ
3.วางแผนการดำเนินการ
4.ดำเนินการ
กิจกรรมการจัดการขยะด้วยตนเองในห้องเรียน
นักเรียนมีแก้วประจำตัว
กำหนดมาตรการรณรงค์
ติดประกาศให้ทุกคนยึดถือปฏิบัติ
จัดเก็บในภาชนะที่จัดเก็บไว้ในห้องเรียน
ขยะรีไซเคิลบริจาคหรือจำหน่าย
ขยะใช้ไม่ได้ส่งมอบเทศบาลนำไปฝังกลบ
ขยะเป็นพิษส่งต่อเทศบาล
ขยะติดเชื้อส่งให้โรงพยาบาล
ถุงนม ตัด ล้าง และตาก
น้ำล้างถุงนมนำไปหมักกับจุลินทรีย์หน่อกล้วย
กิจกรรมปลูกฝังระเบียบในการกินอาหาร
บันทึกข้อตกลงเรื่องการรับประทานอาหารในโรงอาหาร
ติดประกาศข้อตกลงและมารยาทในการรับประทานอาหาร
กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนเห็นประโยชน์ของวัสดุรีไซเคิล
กิจกรรมจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้
5.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
6.การขยายการดำเนินงานเพื่อให้เกิดความยั่งยืน
การถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน
ให้บริการสังคม
เสียงสะท้อนจากความร่วมมือ
โครงการต้นกล้าไร้ถังจึงยิ่งมีความสำคัญที่จะช่วย
ลดปริมาณขยะตั้งแต่ต้นทาง
ลดปริมาณขยะในประเทศของเราให้ได้มาก
ไม่มี
ถังขยะบดบังทัศนียภาพของโรงเรียน ความสดใสก็เพิ่มขึ้น
สามารถนำไปขายสร้างรายได้เสรมิ
ให้กับเราได้
ต่อยอดไปในอนาคตได้ให้
กับชุมชนอื่น ๆ และชุมชนใกล้เคียง
แนวคิดของโครงการฯ สามารถขยายสู่หน่วยงาน เครือข่ายโรงเรียนในวงกว้างได้