Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน นางสาวรุจิรา เสาดี (62102301098) 98 -…
บทที่ 6 การแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
นางสาวรุจิรา เสาดี (62102301098) 98
การวางแผนงาน
ประเภทของแผน
ประเภทของแผนแบ่งตามเวลา
1.1 แผนระยะยาว
1.2 แผนระยะปานกลาง
1.3 แผนระยะสั้น
ประเภทของแผนแบ่งโดยอาศัยการกระทำเป็นหลัก
2.1 แผนเพื่อการกระทำซ้ำหรือแผนถาวร
2.2 แผนเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ซ้ำซ้อน หรือแผนเพื่อใช้ครั้งเดียว
ประเภทของแผนแบ่งตามพื้นที่ โดยยึดพื้นที่เป็นหลัก แบ่งเป็นชนิดต่างๆดังนี้
3.1 แผนชาติ
3.2 แผนภาค
3.3 แผนพื้นที่
ประเภทของแผนแบ่งตามลายลักษณ์อักษร
4.1 แผนที่มีลายลักษณ์อักษร
4.2 แผนที่ไม่มีลายลักษณ์อักษร
ลักษณะของแผนงานอนามัยชุมชนที่ดี
ตั้งอยู่บนรากฐานของความเป็นจริง
มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เข้าใจง่าย เป็นไปตามสถานการณ์จริง
มีกลยุทธ์หรือกิจกรรมแก้ไขปัญหาที่สามารถปฏิบัติได้
กำหนดการใช้ทรัพยากรและงบประมาณได้อย่างเหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสุด
กำหนดระยะเวลาทำงานที่แน่นอน
กำหนดขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเหมาะสม
สามารถประเมินความสำเร็จของงานได้
มีลักษณะยืดหยุ่นและง่ายต่อการปรับปรุงแก้ไข
เป็นแผนที่สอดคล้องกับนโยบาย
การเขียนโครงการ
แบบแผนการเรียนโครงการแบบดั้งเดิม
( Conventional Plan Design
ชื่อโครงการ
สั้น กระชับ สอดคล้องกับกลวิธีหรือกิจกรรมที่ทำ
หลักการและเหตุผล
เขียนความเรียงเพื่อชี้ให้เห็น สภาพความเป็นจริงของปัญหา และผลกระทบที่เกิดขึ้น พร้อมมีข้อมูลสนับสนุน
(ควรเขียนข้อมูลที่น่าเชื่อถือ เช่น ตัวเลข สถิติต่างๆ)
วัตถุประสงค์
ลักษณะที่ดี 5 ประการในการเขียนวัตถุประสงค์คือ SMART
S= Sensible เป็นไปได้ในการทำโครงการ
M= Measurable วัดได้ ประเมินผลได้
A=Attainable ระบุสิ่งที่ต้องการดำเนินงานชัดเจน
R= Reasonable เป็นเหตุเป็นผลในการปฏิบัติงาน
T=Time มีขอบเขตเวลาที่แน่นอนในการปฏิบัติงาน
คำที่ควรใช้
เพื่อมีความรู้
เพื่อเลือกสรร
เพื่อมีทัศนคติ
เพื่อจำแนก
เพื่อประเมิน
เพื่อมีพฤติกรรมสร้างเสริม
คำที่ควรหลีกเลี่ยง
เพื่อเข้าใจถึง
เพื่อทราบถึง
เพื่อคุ้นเคยกับ
เพื่อซาบซึ้งใน
เพื่อสนใจตระหนักใน
เพื่อยอมรับใน
เพื่อเชื่อถือใน
เพื่อสำนึกใน
เป้าหมาย
สิ่งที่โครงการต้องการให้เกิดในปริมาณที่แน่นอน ชัดเจน ตามระยะเวลาที่กำหนด สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
สถานที่ดำเนินงาน (สถานที่เป้าหมาย)
วิธีการดำเนินงาน
ขั้นเตรียมงาน
เป็นการเตรียมความพร้อมของทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้องก่อนเริ่มลงมือปฏิบัติงาน
ขั้นดำเนินงาน
เป็นการกำหนดกิจกรรมการทำงาน โดยระบุ วัน เวลา สถานที่ กำหนดผู้รับผิดชอบ โดยประชาการมีส่วนร่วม ส่งผลบรรลุเป้าหมาย
ระยะเวลา
ตั้งแต่เริ่มเขียนโครงการ จนถึง ประเมินผลของโครงการ
งบประมาณ
ควรคำนึงถึงหลัก 4 ประการคือ
ประหยัด (Economy) เป็นการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
ประสิทธิภาพ (Efficiency) เป็นที่ยอมรับในผลงาน โดยใช้ทรัพยากรน้อยที่สุด
ประสิทธิผล (Effectiveness) เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ยุติธรรม (Equity) ใช้ทรัพยากรเป็นไปตามเกณฑ์
ประเมินผล
ควรระบุดัชนี เกณฑ์ เครื่องคือ วิธีระยะเวลาการประเมินผลทั้งหมด
ผู้รับผิดชอบโครงการ (หน่วยงานหรือชื่อ)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
มักไม่นิยมนำวัตถุประสงค์มาเขียน
ผู้เขียน ผู้เสนอ ผู้เห็นชอบ ผู้อนุมัติโครงการ
ผังกำกับงาน (Gantt Chart
การจัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาชุมชน
ควรทำกิจกรรมเป็นไปตามขั้นตอนของแผนงาน โครงการที่เขียนไว้ และบันทึกผลการปฎิบัติงาน
การนําสาธารณสุขมูลฐานมาใช้ในการปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาได้แก่ การมีส่วนร่วมของชุมชน การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมแก่ชุมชน โดยมุ่งเน้นการพัฒนา ศักยภาพของบุคคลและชุมชน รวมทั้งเป็นการส่งเสริมสนับสนุน การจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพแบบยั่งยืนเพื่อเป้าหมายการมีคุณภาพชีวิตท่ีดี
หลักการพัฒนาชุมชน
ใช้ทรัพยากรท้องถิ่นให้ได้ประโยชน์สูงสุด
สอดคล้องกับแผนชีวิต
ปชช. มีส่วนร่วม
เชิงรุก > เชิงรับ
พัฒนาพร้อมกับด้านอื่น
เน้นการประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง
คนเป็นศูนย์กลาง
มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
หลักประชาธิปไตยในการปฏิบัติงานร่วมกัน
ให้เกิดประชาชนเกิดความสุข
หลัก Wilkinson
Date
Intervention
บันทึก
Evaluation
การแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
ปัญหาชุมชนจะได้รับการแก้ไขด้วยดีก็ต้องอาศัยความร่วมมือในการทํางาน(ทีม)
ความเข้าใจงาน
รักและพร้อมที่จะปฏิบัติงานเพื่อให้งานสำเร็จโดยอาศัยหลักการสาธารณสุขที่ว่า เจ้าหน้าที่เป็นเพียงผู้สนับสนุน ประชาชนเป็นเจ้าของปัญหาและเป็นผู้ปฏิบัติ,ชุมชนเข้มแข็ง