Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 4, ลูกเป็นลําไส้โป่งพองแต่กําเนิด2, Hirschsprung's …
กรณีศึกษาที่ 4
สถานการณ์
ผู้ป่วยเด็กทารกแรกเกิด เพศชาย GA 37++ อายุ 3 วัน
น้ำหนักแรกเกิด 2,800 กรัม ความยาว 52 เซนติเมตร
มีปัญหายังไม่ถ่ายขี้เทา ท้องอืด บวม รับนมไม่ได้ อาเจียนเป็นสีเขียวปนน้ำตาล แพทย์จึงมีแผนการรักษาให้ NPO ไว้ และให้on 10% DW 500 ml IV drip 8 ml/hr.
เนื่องจากสงสัยปัญหา Hirschsprung's Disease
สาเหตุกลไกการเกิด
โรคลําไส้ใหญ่โป่งพองแต่กําเนิด มีพยาธิสภาพพื้นฐาน โรคที่ไม่มีเซลล์ ปมประสาท ในผนังของลำไส้ใหญ่ตั้งแต่เกิด ทำให้ลำไส้ใหญ่ส่วนล่างที่ไม่มีเซลล์ปมประสาท ไม่สามารถบีบตัวขับลม และอุจจาระออกได้ ผู้ป่วยมีอาการเหมือนลำไส้อุดตันจากลำไส้ใหญ่ส่วนล่างทำงานไม่ได้ ในขณะเดียวกันลำไส้ใหญ่ส่วนบนที่มีเซลล์ ปมประสาท พยายามบีบตัวมากขึ้น เพื่อขับลมและอุจจาระออกมา จึงเกิดการขยายและพองตัวของลำไส้ที่มีเซลล์ ปมประสาท ดังนั้น โรคนี้จึง อาจมีชื่อเรียกอีกอย่างนึงว่า congenital megacolon
-
-
แนวทางการตรวจวินิจฉัย จากการตรวจร่างกาย พบท้องอืด เมื่อตรวจทางทวารหนัก (rectal examination) จะพบว่ารูทวารหนักบีบรัดนิ้วผู้ตรวจ เมื่อเอานิ้วออก จะพบอุจจาระและลมพุ่งตามนิ้วมือออกมา หน้าท้องจะ โป่งใสจนเห็นเส้นเลือดดําขยายตัวได้ทั่วไป หรืออาจเห็นการเคลื่อนไหวของลําไส้ที่หน้าท้อง และมีอาการปวด ท้องขณะลําไส้บีบตัว
การตรวจพิเศษ
-
-
-
การตรวจวัดความดันภายในทวารหนักลําไส้ตรงและลําไส้เร็คโตซิกมอยด์ (anorectalmanometry) พบว่าเมื่อขยายลําไส้ตรงโดยเพิ่มความดัน จะพบหูรูดทวารหนักชั้นในไม่คลายตัว วิธีนี้มีความแม่นยําสูงถึง 90%
-
-
-
-
-
-