Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการ ทฤษฏีทางคุณธรรมจริยธรรม - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการ ทฤษฏีทางคุณธรรมจริยธรรม
โสคราตีส (Socrates)
คุณธรรมคือความรู้ (virtue is knowledge) การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับศีลธรรม
จริยธรรม คือการแสวงหาคุณธรรม เพราะคุณธรรมคือความรู้ที่แท้จริง
ความกล้าหาญ (courage)
การปฏิบัติหน้าที่ทางศาสนา (duty)
การควบคุมตนเอง (self control หรือ temperance)
ยุติธรรม (justice)
ปัญญา หรือความรู้ (wisdom)
เพลโต ( Plato)
คุณธรรม คือ การปฏิบัติที่ดีตามหน้าทีของวิญญาณ และคุณธรรมไม่สารถเกิดขึ้นได้โดยบังเอิญ เพราะมนุษย์จะต้องรู้ว่าเขากำลังทำอะไร เพื่ออะไร และทำอย่างไร คุณธรรมจึงเกิดขึ้นจากความรู้ ไม่ใช่ความรู้ทฤษฏี แต่เป็นความรู้ที่มาจากการปฏิบัติจริง
ปัญญาหรือความรู้ (wisdom)
ประมาณ (temperance)
กล้าหาญ (courage)
ยุติธรรม (justice)
อริสโตเติล (Aristotle)
คุณธรรม ได้แก่ การเดินสายกลางระหว่างความไม่พอดีกับความพอดี หรือคุณธรรมคือความพอดีพองาม ไม่เอียงสุดไปทางด้านใดด้านหนึ่ง
คุณธรรมทางศีลธรรม เป็นส่วนหนึ่งของวิญญาณ อยู่ในรูปคำสอน ละมุ่งเพื่อความดีงาม คนมีคุณธรรมก็คือคนที่มีความพอดี ทำด้วยเจตนาดี มีเหตุผล
คุณธรรมทางสติปัญญา เป็นเรื่องของความรู้ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ
ปรีชา (2536)
คุณธรรม หมายถึง คุณงามความดีที่ฝังลึกในจิตใจของบุคคล
ดวงเดือน และเพ็ญแข (2520)
จริยธรรมหมายถึงลักษณะทางสังคมหลายลักษณะ ่
ของมนุษย์ และมีขอบเขตรวมถึงพฤติกรรมทางสังคม
ประภาศรี (2540)
จริยธรรมหมายถึง หลักความประพฤติที่อบรมกิริยาและ
ปลูกฝังลักษณะนิสัยให้อยูในครรลองของคุณธรรมหรือศีลธรรม
วิทย์ (2538)
จริยธรรมหมายถึง เรื่องเกี่ยวกับการวินิจฉัยแยกแยะเกี่ยวกับคุณค่าของความประพฤติในสังคม
พระราชวรมุนี (2530)
จริยธรรม หมายถึง การดำเนินชีวิตเป็นอยู่ การยังชีพให้เป็นไป การครองชีพ การเคลื่อนไหวของชีวิตทุกด้าน ด้านสังคม ด้านอารมณ์ ด้านปัญญา ด้านจิต