Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนรู้ครั้งที่ 2 - Coggle Diagram
สรุปการเรียนรู้ครั้งที่ 2
Chest pain
สาเหตุ
Cardiac
โรคหัวใจที่มาจากเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ
โรคหัวใจที่ไม่ได้มาจากเส้นเลือดที่ไม่ได้มาเลี้ยงหัวใจ
Non-Cardiac
อาการนำสำคัญ
เหนื่อยง่ายขณะออกแรง
กลุ่มอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวชนิดเฉียบพลัน/เรื้อรัง
เจ็บเค้นหน้าอก
ไม่มีอาการชัดเจน
อาการเนื่องจากความดันโลหิตต่ำเฉียบพลัน
หมดสติ/หัวใจหยุดเต้น
Stable angina
ระยะเวลา
น้อยกว่า 2-10 นาที
สิ่งที่กระตุ้น
ออกกำลังกาย อากาศเย็น อารมณ์เครียด
ลักษณะอาการ
แน่นหน้าอก อึดอัด หายใจไม่สะดวก คล้ายมีของหนักมาทับ
สิ่งที่บรรเทาอาการ
การพัก อมยา Nitroglycerin
ตำแหน่ง
หน้าอกด้านซ้าย ร้าวไปที่คอ กราม ลิ้นปี่ ไหล่ หรือแขนซ้าย
อาการ/สิ่งที่พบร่วม
อาจได้ยินเสียง S3 / Heart murmur
Unstabie angina
ระยะเวลา
น้อยกว่า 20 นาที
สิ่งที่กระตุ้น
ออกกำลังกาย อากาศเย็น อารมณ์เครียด รวมทั้งมีอาการเมื่ออกแรงเล็กน้อยหรือขณะพัก
ลักษณะอาการ
แน่นหน้าอก อึดอัด หายใจไม่สะดวก คล้ายมีของหนักมาทับ อาการเหล่านี้จะรุนแรงกว่า Stable angina
ตำแหน่ง
หน้าอกด้านซ้าย ร้าวไปที่คอ กราม ลิ้นปี่ ไหล่ หรือแขนซ้าย
อาการ/สิ่งที่พบร่วม
อาจได้ยินเสียง S3 / Heart murmur รวมทั้งอาจมีหัวใจล้มเหลวได้
Myocardial infarction
ระยะเวลา
เป็นทันที นานกว่า30 นาที
สิ่งที่กระตุ้น
อาการไม่บรรเทาหลังการพัก หรือหลังอมยา Nitroglycerin ไม่ดีขึ้น
ลักษณะอาการ
แน่นหน้าอก อึดอัด หายใจไม่สะดวก คล้ายมีของหนักมาทับ อาการเหล่านี้จะรุนแรงกว่า Stable angina
อาการ/สิ่งที่พบร่วม
หายใจเหนื่อย เหงื่อออก คลื่นไส้ อาเจียน ใจสั่น หน้ามืดเป็นลม หมดสติ
ตำแหน่ง
หน้าอกด้านซ้าย ร้าวไปที่คอ กราม ลิ้นปี่ ไหล่ หรือแขนซ้าย
Pericarditis
ระยะเวลา
นานหลายชั่วโมงหรือเป็นวัน
สิ่งที่กระตุ้น
เวลานอนราบ หายใจเข้าลึกๆ เอี้ยวตัว
ลักษณะอาการ
เจ็บแปล๊บหรือเสียดแทง
สิ่งที่บรรเทาอาการ
ลุกนั่ง/โน้มตัวไปข้างหน้า
ตำแหน่ง
บริเวณหน้าอกด้านซ้าย ร้าวไปที่คอ หัวไหล่ซ้าย
อาการ/สิ่งที่พบร่วม
Pericardial friction rub
Aortic dissection
ระยะเวลา
ทันทีทันใด มักรุนแรงมาก
สิ่งที่กระตุ้น
พบในผู้ป่วย HT /เป็นโรค Marfan syndrome
ลักษณะอาการ
เจ็บรุนแรงมาก ลักษณะคล้ายของมีคมมาแทง/เจ็บแบบฉีกขาด
อาการ/สิ่งที่พบร่วม
อาจพบ Aortic insufficiency คลำ PR / วัด BP ที่แขนขาได้ไม่เท่ากัน มีอาการทางสมองผิดปกติได้
ตำแหน่ง
บริเวณหน้าอกด้านหน้า อาจร้าวทะลุไปกลางหลัง
Pulmonary embolism
ระยะเวลา
เกิดทันที
สิ่งที่กระตุ้น
เวลาหายใจแรงๆ
ลักษณะอาการ
เจ็บสัมพันธ์กับการหายใจ (Pleuritic pain)
อาการ/สิ่งที่พบร่วม
หอบเหนื่อย หายใจเร็ว BP drop หัวใจห้องขวาล้มเหลว
ตำแหน่ง
บริเวณหน้าอกด้านซ้าย / ขวาที่เกิดมี Pulmonary infartion
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะหับใจล้มเหลวที่รุนแรง
หัวใจเต้นผิดจังหวะที่รุนแรง
Cardiogenic shock
ปัจจัยเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจ
ไขมันสูง
เบาหวาน
การไม่ได้ออกกำลังกายเพียงพอ
ตรวตพบไตเสื่อม / มีไข่ขาวรั่วในปัสสาวะ
อ้วน
อายุมากกว่า 55 ปีในเพศชาย , อายุมากกว่า 65 ปีในเพศหญิง
การสูบบุหรี่
ประวัติของโรคหัวใจในครอบครัว (อายุมากกว่า 55 ปีในเพศชาย ,
อายุมากกว่า 65 ปีในเพศหญิง)
ความดันโลหิตสูง
การวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจวัด Cardiac enzymes
การตรวจร่างกาย
Chest X-ray , Echocardiogram , CT-Chest
การซักประวัติ
อาการเหนื่อยง่ายขณะออกแรง
เฉียบพลัน ภายใน 1-2 สัปดาห์
ปอดติดเชื้อ
หอบหืด
โรคที่ทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
ลิ่มเลือดอุดตันในปอดเฉียบพลัน
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบเฉียบพลัน
โรคอื่นๆ ที่เกี่ยวกับเมตาบอลิก / จิตประสาท
กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียพลัน
เรื้อรัง เกินกว่า 3 สัปดาห์
COPD
Pulmonary HT
Congenital heart dz
ลิ่มเลือดอุดตันในปอดเรื้อรัง
Valvular heart disease
ไตวายเรื้อรัง
Ischemic cardiomypathy
ซีดเรื้อรัง
Acute Diarrhea
นิยาม
การถ่ายอุจจาระเหลวหรือถ่ายเป็นน้ำ ตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไป ใน 24 ชม. หรือถ่ายเป็นมูกเลือด 1 ครั้ง หรือมากกว่านั้น
อุจจาระร่วงอย่างเฉียบพลัน ในผู้ป่วยอายุ 15 ปี หรือมากกว่านั้น
แบ่งกลุ่มการถ่ายอุจจาระ
กลุ่มที่ถ่ายอุจจาระเหลว / น้ำ (ไม่มีอาการขาดน้ำและเกลือแร่)
อาการแต่ละอย่างมีไม่มาก
ไม่จำเป็นต้องทำ Stool exam
เป็นกลุ่มที่พบได้มากที่สุด
การรักษา
ORS ไม่จำเป็นต้อง ATB
กลุ่มที่ถ่ายอุจจาระเป็นมูกเลือด
อุจจาระออกแต่ละครั้ง มักมีปริมาณไม่มาก
ปวดท้อง อาเจียน อาจเป็นรุนแรงได้
ถ่ายบ่อย หลายครั้ง อาจมีอาการปวดเบ่งที่ทวารหนัก
ส่วนใหญ่มักไม่มี Dehydration
อุจจาระในวันแรกๆ อาจมีลักษณะเหลว / น้ำ ต่อมาจึงเป็นมูกเลือด
Stool exam พบ WBC , RBC จำนวนมาก
มีไข้สูง มากกว่า 39 องศาเซลเซียส แต่มักไม่เกิน 2-3 วัน
การรักษา
ให้ยา ATB
.ให้ยา Norfloxacin ในรายที่สงสัย Sepsis โดยเฉพาะผู้สูงอายุ / คนที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ
ให้สารน้ำ/เกลือแร่ทดแทน อาจไม่ต้องมากหรือรีบด่วน
ให้ยา Ciprofloxacin
กลุ่มที่ถ่ายอุจจาระเหลว / น้ำ (มีอาการขาดน้ำและเกลือแร่)
ส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีไข้ / มีไข้ไม่สูงมาก
ไม่ค่อยปวดท้อง / ถ้าปวดก็ไม่รุนแรง
มีการถ่ายเป็นน้ำอย่างรุนแรง มีลักษณะ Dehydration อาการมักจะเกิดขึ้นทันทีภายในเวลาอันรวดเร็ว หรือภายในไม่กี่ชั่วโมง
บางรายเป็นตะคริว โดยไม่มีอาการเกร็งแข็งเป็นก้อนของกล้ามเนื้อ
มักเป็นผู้ป่วยกลุ่ม อหิวาตกโรค เกิดจากเชื้อ Vibrio cholera
Stool exam ไม่ค่อยพบ WBC , RBC แต่พบแบคทีเรีย
การรักษา
Pretreatment dificit + concurrent loss + ongooing loss
ถ้าเป็น Mild .Dehydration - ORS กิน 1-1.5 เท่าของปริมาณอุจจาระที่ถ่าย
.Dehydration ให้ทัน
ถ้าเป็น Moderate .Dehydration ขึ้นไป / กินไม่ได้ - Ringer lactate /Acetar
ยา Tetracyclin , Doxycyclin ถ้าแพ้ยา ใช้เป็น Cotrimoxazole , Norfloxacin
Dyspepsia
คำจำกัดความ
อาการปวดท้อง เจ็บท้อง หรืออาการผิดปกติ อื่นๆ เช่น แสบ ร้อน อืด จุก เสียด แน่นตึง ลม เฟ้อ อาการเกิดขึ้นที่บริเวณลิ้นปี่ / หน้าท้อง ช่วงบนเหนือสะดือ
การที่ผู้ป่วยมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งใน 4 อาการ ต่อไปนี้
อิ่มง่ายกว่าปกติ
ปวดท้องบริเวณลิ้นปี่
อืดแน่นท้องหลังอาหาร
ปสบท้องบริเวณลิ้นปี่ มาเป็นเวลาอย่างน้อย 3 เดือน ร่วมกับ ไม่พบโรคทางกาย รวมทั้งการส่องกล้องแล้วไม่พบความผิดปกติ
ผู้ป่วยที่มาด้วยอาการ Dyspepsia ที่ไม่เคยรับการตรวจ ควรดูแล ดังนี้
ซักประวัติ แยกผู้ป่วย Dyspepsia ออกจากผู้ที่มีอาการ ดังนี้
Irritable bowel syndrome (IBS)
Typical gastroesophageal reflux disease (GERD)
Biliary colic
Acute gastritis
สาเหตุ
ดื่มแอลกอฮอล์/สูบบุหรี่่มากเป็นประจำ
การดื่มกรด-ด่าง
รับประทานยาแก้ปวดกลุ่ม NSAIDs
เนื่องจากการเจ็บป่วยอื่นๆ เช่น Uremia , Systemic infection
ได้รับ Cancer chemotherapy
เป็นการอักเสบเยื่อบุกระเพาะอาหารแบบเฉียบพลัน
Chronic gastritis
สาเหตุที่พบบ่อย
ภาวะภูมิคุ้มกันมี antibody ทำลาย parietal เกิด gastric hypochlorhydria และ pernicious anemia
ดื่มแอลกอฮอล์/สูบบุหรี่่มากเป็นประจำ
การติดเชื้อในกระเพาะอาหารเรื้อรัง
การอักเสบเรื้อรังของเยื่อบุ mucosa ร่วมกับมี mucosal atrophy และ epithelail metaplasia ทำให้มีอาการปวดท้องแน่นท้องเรื้อรัง (Dyspepsia) มีโอกาสเกิด dysplasia และ เสี่ยงต่อการเกิดมะเร็ง
GI Hemorrhage (ถ่ายดำ / ถ่ายเป็นเลือด / อาเจียนเป็นเลือด)
Coffee ground (อาเจียนเป็นสีดำ)
เลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้นที่ผสมกับกรดและสารหลั่งในกระเพาะอาหาร
แสดงถึง
ภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารที่หยุดแล้ว / เคยตกเลือดแต่ออกไม่มาก
ลักษณะเป็นสีคล้ายสีกาแฟออกสีดำคล้ำ
Melena (ถ่ายดำ)
เป็นลักษณะของ Acid hematin ที่เกิดจากฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดง รวมกับกรดในกระเพาะอาหาร
มีกลิ่นเฉพาะ และลักษณะเหนียวคล้ายยางมะตอย
Hematemesis (อาเจียนเป็นเลือด)
ภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้นแบบเฉียบพลัน/รุนแรง และมักจะมีปริมาณมากจนทำให้ผู้ป่วยต้องอาเจียน
Hematochezia (ถ่ายเป็นเลือด)
การถ่ายเป็นเลือดแดง หรือถ่ายเป็นเลือดสีคล้ำ/ดำแดง และเห็นได้ด้วยตาเปล่า
แบ่งได้ 2 ลักษณะ
ลักษณะที่ 1
เลือดที่ออกมาเป็นสีแดงสด แดงคล้ำ มีหรือไม่มีมูกปนก็ได้
สาเหตุของโรคอยู่ที่
ปากทวาร / ใน rectum / ลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย
ถ่ายเป็นเลือดครั้งละไม่มาก เป็นๆหายๆหรือต่อเนื่องก็ได้
ลักษณะที่ 2
สาเหตุสำคัญ
Meckels diverticulum
typoid , segmental enteritis
Diverticular disease
aorto-enteric fistula , บางครั้งอาจเป็นได้จากเนื้องอกของลำไส้และภาวะลำไส้อักเสบ
Angiodysplasia
การซักประวัติ
ประวัติโรคที่เกี่ยวข้องกับเลือดออก
ประวัติการฉายแสง
การเปลี่ยนขนาดของอุจจาระ
ปัจจัยเสี่ยง ประวัติเลือดออก
ประวัติการใช้ยา
ถ่ายเป็นเลือดอย่างรุนแรง/จำนวนมาก อาจเป็นช่วงเวลาสั้นๆ หรือต่อเนื่องจนความดันตก ปริมาณเลือดออกมากกว่า 1000 ml.
การแยกตำแหน่ง Upper GI และ Lower GI
จะแบ่งด้วย Ligament of Trietz
Jaundice
แนวทางการวินิจฉัยสาเหตุของดีซ่าน
Hepatocellular jaundice
Obstructive jaundice
Hemolytic jaundice
สาเหตุ
ความผิดปกติของการส่ง Unconjugated bilirubin เข้าสู่เซลล์ตับ
ยาบางชนิด
Portal-Systemic shunting of blood
ความผิดปกติในการ Conjugated -ของ bilirubin
โรคันธุกรรมที่ขาด Enzyme Bilirubin UDP glucuronyl transferase
Hormone และยาบางชนิด ได้แก่ Pregnaediol
Prematurity
การผลิตของ Bilirubin เพิ่มขึ้น
Ineffective erythropoiesis
การสลายของ Hemoglobin จากเลือดที่คั่งในร่างกาย
Hemolytic anemia
ความผิดปกติของการขับถ่าย bilirubin
ความผิดปกติที่เซลล์ตับในการขับ bilirubin
ภาวะอุดกั้นในทางเดินน้ำดี
เกิดขึ้นภายในตับ
เกิดขึ้นภายนอกตับ
Viral Hepatitis
สาเหตุ
ยาที่มีผลต่อตับ
ยาวัณโรค
ยาพาราเซตามอล
เหล้า
การติดเชื้อ
ไวรัสตับอักเสบเอ / บี / ซี / ดี / อี
แบคทีเรีย วัณโรค
โรคภูมิแพ้ตัวเอง
อาการของตับอักเสบ
ตับอักเสบเฉียบพลัน
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร จุกแน่นบริเวณชายโครงขวา ปัสสาวะสีเข้ม ตาเหลือง เมื่ออาการของโรคโตเต็มที่จะค่อยๆดีขึ้น เข้าสู่ระยะฟื้นตัวและหายพร้อมกับมีภูมิต้านทานเกิดขึ้น
ไวรัสตับอักเสบเอ อี จะหายขาดพร้อมมีภูมิต้านทานเกิดขึ้น
ตับอักเสบเรื้อรัง
ไวรัสตับอักเสบบี ร้อยละ 5-10 และไวรัสตับอักเสบซีกว่าร้อยละ 80 จะกลายเป็นตับอักเสบเรื้อรัง
ตับอักเสบ คือ ?
การตรวจพบเอนไซม์ (SGOT, SGPT) สูงผิดปกติ
ไวรัสตับอักเสบเอ
การติดต่อของโรค
เกิดจากการรับประทานอาหาร/เครื่องดื่มที่มีเชื้อไวรัสตับอักเสบเข้าไป และจากการสัมผัสโดยตรง(เกิดน้อย)
ระยะฟักตัว
ระยะเวลาตั้งแต่ได้รับเชื้อ จนกระทั่งเกิดอาการของโรคโดยเฉลี่ยประมาณ 28 วัน
เชื้อไวรัสทำให้เกิดตับอักเสบ อาการน้อยจนถึงรุนแรงมาก
การวินิจฉัย
ระยะที่มีอาการ HAV-IgM
เคยได้รับเชื้อมาก่อน HAV-IgG
ปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อ
เด็ก/เจ้าหน้าที่ในศูนย์เลี้ยงเด็ก
ผู้ที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัด
ประชาชนที่อาศัยในประเทศที่มีการระบาด
ชายรักร่วมเพศ
นักท่องเที่ยวจากประเทศที่พัฒนาไปยังประเทศที่มีการระบาด
การรักษา
ผู้ป่วยตับอักเสบเอ หายได้เอง พักผ่อนให้เพียงพอ ระวังยาที่มีผลต่อตับ
การป้องกัน
ล้างมือทุกครั้งหลังเข้าห้องน้ำ /ปรุงอาหาร
เมื่อไปต่างประเทศให้ดื่มน้ำต้มสุก
ฉีดวัคซีน
ไวรัสตับอักเสบบี
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดหลังรับเชื้อประมาณ 45-90วัน
อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร
ปวดตามตัว / ไข้
แน่นท้อง ถ่ายเหลว 4-15วัน
ตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะสีเข้ม
การประเมินผู้ป่วยที่ตรวจพบ HBsAg เป็นบวก
ติดตามการทำงานของตับ (ALT) ทุก 3-6 เดือน
ตรวจประเมินระยะโรคตับเบื้องต้น ด้วย Ultrasound / Fibroscan
ประเมินภาวะของโรค
HBeAg , HBeAb ,HBV DNA
การติดต่อ
เพศสัมพันธุ์
การสัมผัสกับเลือด น้ำเลือด น้ำคัดหลั่ง โดยผ่านเข้าทางบาดแผล
แม่สู่ลูก
ทางเลือด
การักษา
ยาที่ใช้รักษา
Lamivudine
Tenofovir
Peg-Interferon
Entecavir
ยาต้านไวรัส HIV
ลามิวูดีน
เอ็มไทรซิทาบีน
ทีโนโฟเวียร์
งดแอลกอฮอล์
การป้องกัน
ฉีดวัคซีน
ไวรัสตับอักเสบซี
ไม่ติดต่อทาง
การสัมผัส การหายใจ
การใช้ห้องน้ำร่วมกัน
การทานอาหารร่วมกัน
ผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ประวัติการสัก เจาะหู ด้วยเครื่องมือที่ไม่สะอาด
มีประวัติติดคุก
มีประวัติการฟอกไตในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง
มีประวัติการฉีดยากับหมอเถื่อน
มีประวัติการฉีดยาเข้าเส้นเลือด
มีคู่นอนหลายคน โดยเฉพาะชายที่มีเพศสัมพันธุ์กับชาย
มีประวัติได้รับเลือด/อวัยวะ โดยเฉพาะก่อนปี 2535
การติดต่อ
มีประวัติมีเพศสัมพันธุ์กับผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรัง
การใช้ของส่วนตัวร่วมกัน
ผู้ฉีดสารเสพติดเข้าเส้นเลือด
ทารกที่เกิดจากแม่ที่มีเชื้อไวรัสตับอักเสบซี (พบน้อย)
ภาวะที่เกิดจากการติดเชื้อ
ตับอักเสบเรื้อรัง
ตับแข็ง
ตับอักเสบเฉียบพลัน
มะเร็งตับ
การรักษา
เพกอินเตอร์เฟอรอน (ฉีด) + ไรบาไวริน (ทาน) เป็นเวลา 24-48 สัปดาห์
ผลข้างเคียง
ผื่นคัน ผิวหนังแห้ง
ผมร่วงชั่วคราว
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด คลื่นไส้ อาเจียน
วิงเวียน เหนื่อง่าย
คล้ายไข้หวัดใหญ่ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ
หงุดหงิด ซึมเศร้า นอนไม่หลับ
ผู้ที่ควรได้รับการรักษา
ผลการตรวจชิ้นเนื้อตับพบว่ามีการอักเสบปานกลางหรือรุนแรง
ไม่มีข้อห้ามในการใช้ยารักษา
ตรวจเลือดพบว่ามีการทำงานของตับ ผิดปกติ
HIV
ตรวจเลือดพบไวรัสตับอักเสบซี
การปฏิบัติเมื่อเป็นไวรัสตับอักเสบ ซี
หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์
หลีกเลี่ยงหรือสารต่างๆทีมีอันตรายต่อตับ
รับประทานอาหารที่ถูกสุขอนามัย
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ไม่แพร่เชื้อให้ผู้อื่น/คนใกล้ชิด
พบแพทย์เป็นระยะๆ เพื่อตรวจประเมินการทำงานของตับ
Cirrhosis
อาการ
ปวด เมื่อย เพลีย บวม คันตามตัว สั่น ตัวเหลืองขึ้น
Signs
Clubbing of fingers
Terry's nail
Spader nevi
Palmar erythema
Gynecomastia
Flapping tremor
Testicular atrophy
Fetor hepaticus
Parotid gland enlargement
นิยาม
เกิดจากการอักเสบเรื้อรังของตับ มีการสูญเสียเนื้อตับ ทำให้เกิดผังผืดในตับจำนวนมาก จนไม่สามารทำงานได้ปกติ
สาเหตุ
การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ปริมาณมากและเป็นเวลานาน
โรคทางพันธุกรรม เช่น
Hemochromatosis
Cystic fibrosis , Alpha one antitrypsin deficiency , Glycogen storage disese
Wilson disease
ไวรัสตับอักเสบบี /ซี
โรคภูมิแพ้ตัวเองที่เกิดที่ตับ
โรคท่อทางเดินน้ำดีฝ่อตั้งแต่แรกเกิด
ภาวะไขมันคั่งในตับ
การได้รับยาบางชนิดหรือสมุนไพรบางอย่างที่มีผลต่อตับ
ภาวะหัวใจด้านขวาล้มเหลวเรื้อรัง
มีการอุดกั้นของหลอดเลือดดำทางออกของตับ
การรักษา
การให้ยากดภูมิคุ้มกัน
การให้ยาขับธาตุเหล็กหรือทองแดง
การให้ยาต้านไวรัสตับอักเสบบีหรือซี
การดูแลตนเอง
การดูแลภาวะโภชนาการให้เหมาะสม
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารดิบ โดยเฉพาะอาหารทะเล
การเอาสาเหตุที่กระตุ้นให้ตับเสียหายออกไปได้ก็สามารถทำให้การทำงานของตับดีขึ้น เช่น การใช้ยาต้านไวรัสตับอักเสบบี/ซี
งดการดื่มแอลกอฮอล์
การปลูกถ่ายตับ
หลีกเลี่ยงการใช้ยาและสารที่เป็นอันตรายต่อตับ
การคัดกรองมะเร็งตับ
การรับการฉีดวัคซีน
การประเมินระยะของโรคตับแข็งเพื่อดูว่าภาวะแทรกซ้อนมีอะไรบ้าง
การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับระยะของโรคตับ
พบแพทย์เพื่อติดตามอาการสม่ำเสมอ
แต่หากเป็นมากแล้ว งดการออกกำลังกายประเภทที่ต้องออกแรงเบ่งแรงๆหรือเร็วๆ
Common Genital Tract Infections
โรคที่ควรรู้
Gonorrhea
การรักษา
ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
Cefixime
Gentamicin
Ceftriaxone
มีภาวะแทรกซ้อน
เฉพาะที่
Ceftriaxone (ให้อย่างน้อย 2 วัน หรือจนกว่าจะหาย)
กระจาย
Ceftriaxone ร่วมกับ Azithromycin
ลักษณะทางคลินิก
ผู้ป่วยมีปัสสาวะแสบขัด
มีหนองไหลลจากท่อปัสสาวะหรือพบหนองที่อื่น เช่น ปากมดลูก
ผู้หญิงบางรายไม่มีอาการ / บางรายมีตกขาวผิดปกติ
Non-specific Urethritis
ลักษณะทางคลินิก
มีหนองคล้ายมูกใส/ขุ่น
ผู้หญิงส่วนใหญ่ไม่มีอาการ
คันในท่อปัสสาวะ
ผู้หญิงส่วนน้อยมีตกขาว
อาจตรวจพบการอักเสบที่มดลูก
ผู้ป่วยมีปัสสาวะแสบขัด
การรักษา
Doxycycline
Roxithromycin
Azithromycin
Erythromycin sterate
Trichomonas Vaginitis (TV)
ลักษณะทางคลินิก
มีกลิ่น
แสบระคายเคืองอวัยวะเพศ
มีตกขาวผิดปกติ สีเหลืองออกสีเขียว
ผู้ชายมีปัสสาวะแสบขัด
การรักษา
Metronidazole
Pelvic Inflammatory disease
ลักษณะทางคลินิก
ปวดมากตอนเคลื่อนไหวร่างกาย
เลือดออกทางช่องคลอดกะปิดกะปรอย
ปวดท้องน้อยทั้ง 2 ข้าง หลังมีประจำเดือนใหม่ๆ
มีไข้ ปวดเมื่อยตามตัว
ตกขาวมีกลิ่นเหม็น
เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน
ปวดลึกๆขณะมีเพศสัมพันธุ์
การรักษา
Doxycycline
Azithromycin
Ceftriaxone
อาจให้ร่วมหรือไม่ให้ร่วมกับ Metronidazole ก็ได้
Vaginal Candidiasis (VC)
การรักษา
รายที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
Itraconazole
Clotrimazole
Fluconazole
รายที่มีภาวะแทรกซ้อน
Fluconazole
ลักษณะทางคลินิก
มีตกขาวผิดปกติ
ปัสสาวะแสบขัด
คัน / แสบช่องคลอด
โรคที่พบบ่อย
กลุ่มโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธุ์ หรือ STD
สาเหตุ
เชื้อรา
พยาธิ
เชื้อแบคทีเรีย
เชื้ออื่นๆ
เชื้อไวรัส
อาการที่พบบ่อย
มีตุ่ม ผื่น แผล บริเวณอวัยวะเพศ
ปัสสาวะแสบขัด อาจมีหนอง
คัน / ระคายเคือง /เจ็บผิดปกติขณะมีเพศสัมพันธุ์
บางโรคไม่มีอาการในระยะแรก แต่มีอาการของระบบอื่นๆตามมาภายหลัง
มีตกขาวผิดปกติ