Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
COPD with Pneumonia :explode:, เอกสารอ้างอิง, นางสาวตุลยดา สิงห์รัมย์…
COPD with Pneumonia
:explode:
ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 93 ปี U/D COPD 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล (08/07/65 )ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยมากขึ้น มีเสมหะมาก ญาติจึงเรียก EMS GCS= E4V2M6, RR 26 bpm, O2 sat 70%, BP 85/50 mmHg พ่น Berodual 2 dose, Dexamethasone 4 mg IV ไม่ดีขึ้น ยังเหนื่อยอยู่ on ETT no. 7.5 depth 22 cm
Chronic Obstructive Pulmonary Disease (COPD)
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
มีประวัติการสูบบุหรี่เป็นระยะเวลานาน ตั้งแต่อายุ 31-90 ปี
สารเคมีอันตรายในบุหรี่ทำลายผนังด้านในของปอดและระบบทางเดินหายใจ หลอดลม เนื้อปอด และหลอดเลือดปอดจึงเกิดการอักเสบเสียหาย เนื่องจากได้รับแก๊ส หรือสารที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองเป็นระยะเวลานาน
หลอดลมค่อยๆ ตีบแคบ หรือถูกอุดกั้น โดยไม่อาจฟื้นคืนเป็นปกติได้
อาการในระยะเริ่มแรก : ไอเรื้อรัง เจ็บหน้าอก ไอเป็นเลือดมีเสมหะมากโดยเฉพาะในช่วงเช้าหลังตื่นนอน รู้สึกเหนื่อยหอบ อ่อนเพลีย ไม่มีแรง หายใจลำบาก แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด มีโอกาสติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
เมื่อโรคลุกลามมากขึ้นผู้ป่วยจะมีอาการ : เหนื่อยหอบมากจนไม่สามารถทำกิจกรรมต่างๆ ได้ตามปกติ น้ำหนักลดลงมาก
ในระยะท้ายของโรค : ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ภาวะหายใจวาย (respiratory failure) หัวใจล้มเหลว
1. มีภาวะปอดอักเสบจากการติดเชื้อ
ผู้ป่วยมีภาวะปอดอักเสบ หรือ ปอดบวม (Pneumonia) จากการติดเชื้อดื้อยา Acinetobacter Baumannii ทำให้เกิดการอักเสบของเนื้อปอด ซึ่งประกอบไปด้วยถุงลมปอดและเนื้อเยื่อโดยรอบ ทำให้ปอดทำหน้าที่ได้น้อยลง และผู้ป่วยรายนี้มีภาวะ Acute Exacerbation of COPD มีอาการหายใจเหนื่อย ไอมีเสมหะ CXR เป็น bilateral perihilar infiltration both lung ร่วมกับ 11/07/65 พบ Lactate 4.7 mmol/L, WBC 15.53 10^3/uL, Gram Stain = Numerous Leukocyte, Tracheal Suction Culture = Acinetobacter Baumannii และใส่ ETT นานเกิน 72 ชั่วโมง จึงวินิจฉัยว่ามีภาวะปอดอักเสบจากการติดเชื้อ
ข้อมูลสนับสนุน
2 more items...
เป้าประสงค์ทางการพยาบาล
1 more item...
เกณฑ์การประเมินผล
6 more items...
ประเมินผล
12/07/65
5 more items...
กิจกรรมการพยาบาล
7 more items...
5. มีภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ
ผู้ป่วยรายนี้มีอัตราการเต้นของหัวใจเร็วได้จากการเป็น pneumonia, COPD อาการและอาการแสดงของปอดที่อักเสบส่งผลทำให้หัวใจเต้นเร็ว รวมถึงจากการมีปริมาณ Potassium ในร่างกายสูงและมีภาวะน้ำเกิน
กิจกรรมการพยาบาล
6 more items...
ข้อมูลสนับสนุน
2 more items...
เป้าประสงค์ทางการพยาบาล
1 more item...
เกณฑ์การประเมินผล
3 more items...
ประเมินผล
12/07/65
3 more items...
ผู้ป่วยรายนี้มีภาวะ Acute Exacerbation of COPD ร่วมด้วย หมายถึง ระยะอาการกำเริบเฉียบพลัน เป็นระยะที่ผู้ป่วยเกิดอาการของโรคอย่างกะทันหัน ด้วยอาการไอ มีเสมหะ และหายใจเหนื่อยมากขึ้น เสมหะมีลักษณะข้นขึ้น และเปลี่ยนสีเป็นสีเขียวเหลือง
2. มีภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากการหายใจไม่มีประสิทธิภาพ
การพยาบาล
ประเมินอาการ และอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจนทุก 1 ชั่วโมง เช่น ความรู้สึกตัวลดลง ชีพจรเบา เร็ว ตัวเย็น หายใจสั้น ตื้น หรือหายใจลำบาก เป็นต้น หากมีอาการมากขึ้นให้ประเมินทุก 15 นาที
ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง สังเกตลักษณะการหายใจ อัตราการหายใจ และวัดค่า O2 sat เพื่อติดตาม และประเมินภาวะพร่องออกซิเจน หากมีสัญญาณชีพผิดปกติให้ประเมินทุก 15 นาที
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งโดยการดูดเสมหะในปาก และท่อช่วยหายใจ เพื่อป้องกันการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ดูแล ETT ให้ตามแผนการรักษาของแพทย์ ได้แก่ A/C mode PS 14 cmH2O, PEEP 5%, FiO2 0.5% และดูแลไม่ให้เลื่อนหลุด อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม
ดูแลให้ได้รับ Berodual 1 NB q 4 hr เพื่อขยายหลอดลม ไม่เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ดูแลจัดท่าให้ผู้ป่วยนอนท่าศีรษะสูง 30-45 องศา เพื่อให้กระบังลมหย่อนตัว ปอดขยายตัวได้เต็มที่ส่งเสริมการระบายอากาศ
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์ ได้แก่ Fentanyl (10:1) 100 mg + NSS 100 ml IV rate 5 ml/hr สังเกตอาการและผลข้างเคียงหลังการให้ยาที่อาจเกิดขึ้น
ผู้ป่วยมีเชื้อ Acinetobacter Baumannii เป็น Pneumonia จากการติดเชื้อ และมีโรค COPD เดิม มีภาวะ Acute Exacerbation of COPD ทำให้มีอาการหายใจเหนื่อย เกิดภาวะพร่องออกซิเจนได้
ข้อมูลสนับสนุน
O : แรกรับผู้ป่วยไม่มีอาการหายใจหอบเหนื่อย มีเสมหะในปากมาก เป็นสีเขียว เหนียวข้น เสมหะในท่อมีสีเหลืองปนเลือด ปริมาณน้อย RR 20 bpm, O2 sat 91%, GCS E3M1Vt, on ETT no. 7.5 depth 22, on ventilator mode A/C PS 14 cmH2O, PEEP 5%, FiO2 0.5%
S : -
เป้าประสงค์ทางการพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีภาวะพร่องออกซิเจน
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยไม่มีอาการ อาการแสดงของภาวะ พร่องออกซิเจน เช่น ความรู้สึกตัวลดลง ชีพจรเบา เร็ว ตัวเย็น หายใจสั้น ตื้น หรือหายใจลำบาก เป็นต้น
O2 sat 90-95%
อัตราการหายใจอยู่ในเกณฑ์ปกติ RR = 14–20 bpm
ผู้ป่วยทางเดินหายใจโล่่ง ไม่มีเสมหะ หรือเสมหะลดน้อยลงจากเดิม
ประเมินผล
12/07/65
ผู้ป่วยมีอาการหายใจเหนื่อย กระสับกระส่ายเป็นพักๆ และเสมหะน้อยลงจากเดิม
เวลา 13.00 น. ผู้ป่วยมี O2 sat 91% ขณะใส่ ETT ได้รับ Acetar 300 ml IV load หลังจากนั้น O2 sat 96% สังเกตอาการต่อ
3.RR อยู่ในช่วง 10-14 bpm
Pneumonia
โรคปอดอักเสบจากการติดเชื้อ
ติดเชื้อในตำแหน่งของหลอดลมฝอยลุกลามจนถึงถุงลมปอด ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัสและเชื้อแบคทีเรีย
ผู้ป่วยมีเชื้อ Acinetobacter Baumannii
ภูมิคุ้มกันของร่างกายจะส่งเม็ดเลือดขาวมาที่เซลล์ปอด
เกิดปฏิกิริยาการอักเสบจากการทำลายเชื้อโรค
เกิดหนองหรือของเหลวท่วมขังอยู่ภายในถุงลมปอด รวมทั้งทำให้เซลล์ปอดบวมใหญ่ขึ้น
ปอดบวม
เกิดอาการไข้ ไอ หายใจลำบาก และหอบเหนื่อย
Renal Failure ไตวาย
เนื้อไตทั้ง 2 ข้างถูกทำลายจนทำงานไม่ได้หรือได้น้อยกว่าปกติ
ไตสูญเสียความสามารถในการกรองของเสียออกจากเลือดจนไม่สามารถขับของเสียออกจากร่างกายผ่านทางปัสสาวะ
ไม่สามารถควบคุมสมดุลของน้ำและเกลือแร่ต่างๆ โดยเฉพาะโซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม และฟอสฟอรัส
ผู้ป่วยมีภาวะไตวายที่ส่งผลทำให้เพิ่มการปลดปล่อยโพแทสเซียมจากเซลล์สู่ภายนอกเซลล์
เกิดภาวะ
โพแทสเซียมสูง
ระดับโพแทสเซียมในเลือดสูงมากหรือตั้งแต่ 7 mmol/L ขึ้นไป กระทบต่อการทำงานของหัวใจ
อาการและอาการแสดง : หัวใจเต้นผิดปกติ ชีพจรเต้นเบากว่าปกติ หัวใจเต้นผิดจังหวะ และหัวใจหยุดเต้น
4. มีภาวะ Hyperkalemia
ข้อมูลสนับสนุน
S : -
O : 11/07/65 ผู้ป่วย E3M1Vt มีอัตราการเต้นของหัวใจเร็ว อยู่ในช่วง 130-140 bpm ไม่มีแนวโน้มลดลง BP มีค่าต่ำ, K 4.6 mmol/L
เป้าประสงค์ทางการพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีภาวะ Hyperkalemia
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะโพแทสเซียมสูง เช่น ความรู้สึกตัวลดลง ซึม สับสน กล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นเหน็บชาตามร่างกาย หัวใจเต้นผิดปกติ ชีพจรเต้นเบากว่าปกติ เป็นต้น
ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง โดยเฉพาะอัตราการเต้นของหัวใจ หากผู้ป่วยมีสัญญาณชีพผิดปกติให้ประเมินทุก 15 นาที และรายงานแพทย์
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา ได้แก่ Kalimate 30 ml oral q 3 hr x 3 dose, Lasix 20 mg IV, 50% glucose 50 ml + RI 10 unit IV และสังเกตอาการและผลข้างเคียงหลังการให้ยาที่อาจเกิดขึ้น
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ คือ ค่า K เพื่อประเมินภาวะ Hyperkalemia
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะโพแทสเซียมสูง เช่น ความรู้สึกตัวลดลง ซึม สับสน กล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นเหน็บชาตามร่างกาย หัวใจเต้นผิดปกติ ชีพจรเต้นเบากว่าปกติ เป็นต้น
K 3.4-4.5 mmol/L
ประเมินผล
12/07/65
ผู้ป่วย E3M1Vt มีอัตราการเต้นของหัวใจเร็ว อยู่ในช่วง 120-130 bpm ค่า BP ปกติ มี drop ในช่วงเวลา 13.00 น. สังเกตอาการต่อ
K 4.8 mmol/L แปลผลว่ามีค่าสูงขึ้น สังเกตอาการต่อและให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์
ชนิด
ไตวายเฉียบพลัน
ไตวายเรื้อรัง
การสูญเสียการทำงานของไตที่ค่อยๆ เป็นไปอย่างช้าๆ และถาวร
ผู้ป่วยมีค่า eGFR 17 ภาวะไตวายเรื้อรังอยู่ในระยะที่ 4
(11/07/65)
มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย น้ำหนักตัวลดลง ปวดศีรษะ ตามัว ท้องเสียบ่อย ชาตามปลายมือปลายเท้า ผิวหนังแห้งและมีสีคล้ำ อาจมีอาการหัวใจล้มเหลวได้
3. มีภาวะ Hypervolemia
เป้าประสงค์ทางการพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีภาวะ Hypervolemia
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะน้ำเกิน ได้แก่ อาการบวมที่เห็นได้ชัดเจนในแขน ขา เท้า ข้อเท้า ข้อมือ และใบหน้า ระดับความรู้สึกตัวลดลง ท้องอืด นอนราบไม่ได้ หายใจหอบเหนื่อย ความดันโลหิตสูง เป็นต้น
ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง โดยเฉพาะอัตราการเต้นของหัวใจ หากผู้ป่วยมีสัญญาณชีพผิดปกติให้ประเมินทุก 15 นาที และรายงานแพทย์
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา ได้แก่ Lasix 20 mg IV และสังเกตอาการและผลข้างเคียงหลังการให้ยาที่อาจเกิดขึ้น
บันทึกปริมาณปัสสาวะหลังจากการให้ยา
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้า-ออก ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินการมีภาวะน้ำเกิน
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ BUN, creatinine, eGFR
ข้อมูลสนับสนุน
O : 10/07/65 Intake 2450 ml Output 1100 ml มี I/O imbalance, 11/07/65 ผู้ป่วย E3M1Vt มีอาการบวมบริเวณมือ Pitting Edema 1+, BUN 58 mg/dL, creatinine 3.02 mg/dL, eGFR 17 stg.4, ปัสสาวะมีสีเหลืองใส ไม่มีตะกอน, BP 141/76 mmHg
S : -
ประเมินผล
12/07/65
ผู้ป่วยมีอาการบวมบริเวณมือ Pitting Edema 1+
ฺBP ปกติ มี drop ในช่วงเวลา 13.00 น. สังเกตอาการต่อ
BUN 64 mg/dL, creatinine 3.51 mg/dL, eGFR 14 stg.5 สังเกตอาการต่อและให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะน้ำเกิน ได้แก่ อาการบวมที่เห็นได้ชัดเจนในแขน ขา เท้า ข้อเท้า ข้อมือ และใบหน้า ระดับความรู้สึกตัวลดลง ท้องอืด นอนราบไม่ได้ หายใจหอบเหนื่อย ความดันโลหิตสูง เป็นต้น
BP 90-120/60-90 mmHg
BUN 6-20 mg/dL, creatinine 0.67-1.17 mg/dL, eGFR >90
เอกสารอ้างอิง
อุ่นเรือน กลิ่นขจร และ สุพรรษา วรมาลี. (2563).
คู่มือการพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุโรคปอดอักเสบ.
สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2565. จาก
https://www2.si.mahidol.ac.th/division/nursing/sins/attachments/article/811/Nursing%20Guide%20for%20Elderly%20Patients%20with%20Pneumonia.pdf
โสมพันธ์ เจือแก้ว และ ศิราณี เครือสวัสดิ์. (2557).
คู่มือการพยาบาลผู้ป่วยโรคไตวายที่มารับการผ่าตัดใส่สายสวนระยะยาวเพื่อฟอกเลือด ในระยะเตรียมก่อนผ่าตัดและระยะตรวจติดตามผลหลังผ่าตัด.
สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2565. จาก
https://www2.si.mahidol.ac.th/division/nursing/sins/attachments/article/215/sins_nursing_manual_2558_03.pdf
วิชัย เทียนถาวร. (2561).
ไตวาย.
สืบค้นเมื่อ 13 กรกฎาคม 2565. จาก
https://www.matichon.co.th/columnists/news_861342
นภารัตน์ อมรพุฒิสถาพร. (ม.ป.ป.).
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง Chronic Obstructive Pulmonary Disease.
สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2565. จาก
https://www.rama.mahidol.ac.th/med/sites/default/files/public/pdf/medicinebook1/COPD.pdf
นางสาวตุลยดา สิงห์รัมย์ รหัสนิสิต 62010053 กลุ่ม 03-17