Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของการไหลเวียนเลือด - Coggle Diagram
ความผิดปกติของการไหลเวียนเลือด
Hypertension
Definition
systolic blood pressure, diastolic blood pressure
Urine protein ≥ 300 mg in 24 hrs
Urine protein creatinine index (UPCI) ≥ 0.3
Or urine dipstick ≥ 1+(1, 2)
ประเภทของความดันโลหิตสูง
Eclampsia
New-onset tonic-clonic, focal or multifocal seizures in pregnancy (ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในไตรมาสสุดท้ายและหลังคลอด 48-72 ชั่วโมง)
ไม่จำเป็นต้องมี New-onset Hypertension หรือ
New-onset Proteinuria หรือ Severe features
Chronic hypertension with superimposed preeclampsia
New-onset Hypertension ที่ late 20 weeks
Preeclampsia
ตรวจพบความดันโลหิตสูงหลังคลอด 12 สัปดาห์
Chronic hypertension
Hypertension ที่ตรวจพบก่อนการตั้งครรภ์ (Pregestational hypertension)
New-onset Hypertension before 20 weeks
ตรวจพบความดันโลหิตสูงหลังคลอด 12 สัปดาห์
ไม่มี New-onset Proteinuria
ไม่มี Severe features
Gestational hypertension
SBP ≥ 140 mmHg or DBP ≥ 90 mmHg วัด 2 ครั้ง
No proteinuria
Onset Hypertension before 20 weeks
ความดันโลหิตกลับสู่ค่าปกติภายใน 12 wks
Preeclampsia
systolic blood pressure ≥ 140 mmHg,
diastolic blood pressure ≥ 90 mmHg
New-onset Hypertension late 20 weeks
New-onset Proteinuria
เกิดร่วมกับ
Thrombocytopenia
Renal insufficiency
Impaired liver function
Pulmonary edema
Cerebral หรือ Visual symptoms
เกณฑ์การวินิจฉัย และความหลากหลายของโรค
New-onset Hypertension
Systolic BP (SBP) ≥ 140 mmHg or Diastolic BP (DBP) ≥ 90 mmHg
เมื่อวัด 2 ครั้งต่างกัน 4 ชั่วโมง
Systolic BP (SBP) ≥ 160 mmHg or Diastolic BP (DBP) ≥ 110 mmHg
เมื่อวัดต่างกัน 15 นาที
New-onset Proteinuria
Urine protein 24 hours ≥ 300 mg OR
Urine protein/creatinine ratio/index (UPCI) ≥ 0.3 mg/dL OR
Urine Dipstick or Urine analysis reading ≥ 2+
Severe features
Systolic BP (SBP) ≥ 160 mmHg หรือ Diastolic BP (DBP) ≥ 110 mmHg
เมื่อวัด 2 ครั้งต่างกัน 4 ชั่วโมง
Thrombocytopenia
Impaired liver function
Renal insufficiency
Pulmonary edema
มีอาการปวดศีรษะ หรือ ตาพร่ามัวที่เกิดขึ้นใหม่
เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะ HELLP syndrome
Hemolysis (H) คือ มีภาวะ Microangiopathic hemolysis (MAHA) หรือ LDH > 600 U/L
Elevated liver enzyme (EL) คือ AST/ALT สูงกว่า 2 เท่าของค่า Upper normal limit
Low platelet (LP) คือ เกล็ดเลือด < 100,000 cell/mm3
แนวทางการรักษา
แนวทางการรักษา Preeclampsia without severe features
หรือ mild gestational hypertension
กรณีอายุครรภ์ ≥37 สัปดาห์ พิจารณาให้คลอด
กรณีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ สามารถพิจารณา “Expectant management”
ติดตามและ;วัด BP 2 times/wk
CBC c platelet, Liver Function Test, Protein urea 1 time/wk
Ultrasound 2-4 wks
EFM every 2 wks
Fetal movement count
หลังคลอด
ติดตามและวัด BP อย่างน้อย 72 ชั่วโมง
ยาลดความดันโลหิต
แนวทางการรักษา Severe preeclampsia
รับไว้ในโรงพยาบาล
ให้ stabilize มารดาด้วย MgSO4
ให้ยาลดความดันโลหิตในรายที่ความดันโลหิตยังคงสูง
ในกรณีที่ภาวะของมารดาและทารกในครรภ์ stable พิจารณาให้การรักษาโดย
≥ 34 wks ให้คลอดหลังจากstabilize มารดาแล้ว
≤ 24 wks ให้คลอดหลังจาก stabilize มารดาแล้ว ไม่แนะนาให้ expectant management
24 - 33 wks ให้ Corticosteroid
วิธีการคลอดให้พิจารณาตามอายุครรภ์ ท่าของทารก สภาพของปากมดลูก สภาวะของมารดาและทารกในครรภ์
ผ่าตัดคลอด แนะนาให้ parenteral MgSO4 ต่อเนื่อง
ผู้ป่วย severe preeclampsia และ Eclampsia แนะนาให้ MgSO4
แนวทางการรักษา Chronic Hypertension
เจาะเลือดเพื่อประเมิน Baseline CBC with platelet, BUN,Cr,AST,ALT,uric acid, urine protein 24 hrs
Anti-hypertensive agents จะพิจารณาให้ในรายที่วัดความดันโลหิตที่ รพ.ได้ ≥ 140/90 mmHg
วัดความดันโลหิตที่บ้านทุกวันเฝ้าระวังการเกิดภาวะ Superimposed preeclampsia และการเกิด
Preeclampsia with severe feature
พิจารณาให้ Low dose aspirin ตั้งแต่ GA 12-36 wks
ไม่คลอดก่อน 38 wks
แนวทางการรักษา Eclampsia
เมื่อเกิดการชัก ควรให้คลอดภายใน 12 ชั่วโมง
ยากันชัก (MgSO4)
ให้ยาลดความดันโลหิต
ให้ corticosteroid
ส่งตรวจทางต้องปฏิบัติการ
เมื่อผู้ป่วย Stable วางแผนการคลอด
หลังคลอด ให้ยากันชักต่อจนครบ 24 ชั่วโมง
แนวทางการดูแลทารกในครรภ์
ตรวจ Ultrasonography
เฝ้าระวังภาวะทารกโตช้าในครรภ์ (Intrauterine growth restriction; IUGR)
ให้ทำ Fetal surveillance ด้วย NST 2 ครั้ง/สัปดาห์ตั้งแต่อายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์
การพยาบาล
หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง
ประเมินความรู้และให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะความดันโลหิตสูง
การพักผ่อน (bed rest)
แนะนาการรับประทานอาหาร >>> ลดเค็ม เพิ่มโปรตีน
วัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก ตรวจปัสสาวะ บวม
นับลูกดิ้น
ส่ง Lab สัปดาห์ละประมาณ 1 ครั้ง ได้แก่ CBC, Platelet
count, ALT, AST, LDH, uric acid, creatinine
NST, Ultrasound
กรณีมี Preterm ดูแลการให้ Glucocorticoid
แนะนาอาการผิดปกติที่ควรพบแพทย์
หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ Eclampsia ระยะคลอด
การพักผ่อน (bed rest)
จัดสภาพแวดล้อมให้สงบ และลดการกระตุ้นผู้ป่วยทั้งจากแสง เสียง สัมผัส
วัดความดันโลหิต และ Deep tendon reflex ทุก 1-2 ชั่โมง
ประเมิน Headache, visual disturbance, epigastric pain
เก็บ Urine Protein 24 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยาMagnesium sulfate และติดตาม MgSO4 level
ใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้
หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ Preeclampsia ในระยะคลอด
เตรียมและให้ยาแคลเซียมกลูโคเนททางคลอดเลือดดำ
ประเมินและให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะของโรคแนวทางการดูแลรักษา
ประเมินและเฝ้าระวังสุขภาพทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
เตรียมผู้ป่วยเพื่อการคลอดและช่วยแพทย์ใน
การทาสูติศาสตร์หัตถการ
มารดาที่มีภาวะความดันโลหิตสูงในระยะหลังคลอด
ในรายไม่รู้สึกตัวให้นอนราบตะแคงหน้าส่วนในรายที่รู้สึกตัวให้นอนท่า Fowler’s position
ประเมินการการหดรัดตัวของมดลูก
Observe Bleeding
Vital signs และ Intake output
ให้ IV Fluid ที่ผสม MgSO4 drip ด้วยเครื่อง Infusion pump และสังเกตอาการข้างเคียง
จัดอาหาร Low Salt และ High Protein
การให้นมบุตร
Heart disease
ชนิดของโรคหัวใจ
โรคหัวใจแต่กาเนิด
ปริมาตรเลือดเกิน (Volume overload) VSD, ASD,PDA
แรงดันสูง (Pressure overload) Pulmonarystenosis, aortic stenosis
กลุ่มอาการเขียว (cyanosis)
โรคหัวใจรูมาติก (Rheumatic heart disease)
โรคหัวใจที่มีภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertensiveheart disease)
โรคหัวใจใจขาดเลือด (Ischemic heart disease)
กล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ (cardiomyopathy)
หัวใจเต้นผิดปกติ (Arrthymias)
การจำแนกความรุนแรงของโรคหัวใจแบ่งตาม NYHA (The New York Heart Association)
Class I: Uncompromised
Class II: Slightly compromised
Class III: Markedly compromised
Class IV: severe compromised
ผลการตั้งครรภ์ต่อโรคหัวใจ
การวินิจฉัยโรคยากขึ้น
Cardiac out put เพิ่มขึ้น 30-50%
Heart rate เพิ่มขึ้น 10-20 ครั้ง/นาที
Blood volume เพิ่มขึ้น
Stroke volome เพิ่มขึ้นทำให้ end diastolic เพิ่มขึ้น
Vascular and cardiac pressure
ผลโรคหัวใจต่อการตั้งครรภ์
แท้งบุตร
คลอดก่อนกำหนด
IUGR
ทารกตายในครรภ์
คลอดง่ายเนื่องจากทารกตัวเล็ก
ทารกเกิดหัวใจพิการแต่กาเนิด
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
ซักถามอาการ
ประวัติการรักษา
ประวัติครอบครัว
ประวัติทางสังคม
อาการและอาการแสดงของโรคหัวใจ
อาการ
Severe progressive dyspnea
Progressive orthopnea
Paroxymal noctonal dypnea
Hemoptysis
Syncope with exertion
อาการแสดง
Cyanosis
Clubbing fingers
Persistent neck vein distension
Systolic murmur
Diastolic murmur
Cardiomegaly
Sustained arrhythmia
Persistant splint second sound
Pulmonary hypertension
การตรวจพิเศษ
การตรวจคลื่นหัวใจ
ภาพรังสีทรวงอก
Echocardiography
Exercise tolerance test
การใส่สายสวนหัวใจ (Cardiac catheterization)
การรักษาด้วยยาในโรคหัวใจในหญิงตั้งครรภ์
ยารักษาหัวใจล้มเหลว
Digoxin
Hydralazine
Beta-blocker
ยารักษาอาการหัวใจเต้นผิดปกติ
quinidine
ยารักษาลิ่มเลือดอุดตัน
unfractionated heparin (UFH)
low-molecular weight heparin (LMWH)
warfarin
การให้คำปรึกษาก่อนตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์และการคลอดกับโรคหัวใจ
ภาวะแทรกซ้อน
การพยากรณ์โรค
การถ่ายทอดโรคทางกรรมพันธุ์
การประเมินความเสี่ยงของตนเอง
การยุติการตั้งครรภ์
ควรเลือกทาในรายที่มีความเสี่ยงสูง
วิธีการ
ขูดมดลูก
การใช้ prostaglandin E1 หรือ E2
การใช้ saline abortion (ไม่นิยม)
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ
Prenatal care
ควรแนะนาให้มาฝากครรภ์ตั้งแต่ทราบว่าตั้งครรภ์ Class I, II สามารถตั้งครรภ์จนครบกำหนดได้
การนัดตรวจครรภ์ ก่อน 28 wks นัด 2 wk ภายหลัง 28 wks นัดทุก 1 wks
ควรได้รับการดูแลจากอายุแพทย์
ประเมิน Functional class ทุกครั้ง
ดูแลภาวะ anemia ถ้า hemoglobin น้อยกว่า 10.5 g/dL
ดูแลภาวะ anemia ถ้า hemoglobin น้อยกว่า 10.5 g/dL
แนะนำให้นอนพักมากกว่า 10 ชม.
ควบคุมน้ำหนักไม่เกิน 10 กก.
แนะนาให้หยุดสูบบุหรี่ หรือ สูรา
ระมัดระวังการติดเชื้อ
Functional class เลวลงให้นอน รพ.
ระยะรอคลอดและระยะคลอด
ระยะรอคลอด
เตรียมคลอด 1-2 wks ก่อนคลอด
นอนในท่าตะแคงยกศีรษะสูงระยะรอคลอด
การใช้ยาระงับปวด
หากเกิดภาวะตัดใจล้มเหลว อาจพบ Pulmonary edema,
hypoxia และBP ต่าต้องรักษาตามความรุนแรงของโรค
Vital signs
Fetal monitoring
หากเกิด Premature labor pain >>>Inhibit
ระยะคลอด
วิธีการคลอด แนะนาให้คลอดทางช่องคลอด C/S ตามข้อบ่งชี้ทางยุติศาสตร์
การจัดท่าคลอดในท่า Fowler position ในระยะคลอด
ถ้าคลอดทางช่องคลอด ช่วยคลอดด้วย V/E or F/E
ภาวะหัวใจล้มเหลว ต้องรักษาตามชนิดและความรุนแรงของโรค
Vital signs
ระยะหลังคลอด
การดูแลอย่างใกล้ชิดป้องกันการตกเลือด, ติดเชื้อ
การให้นมบุตร
การคุมกำเนิด
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ
การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันไม่ให้หัวใจทางานหนักเพิ่ม
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและครอบครัวซักถามและอธิบาย
แนะนาการปฏิบัติตัว
พักผ่อน
ลดการทำงานปกติ
อาหาร (ลดแป้ง ไขมัน เกลือ)
ปรับพฤติกรรมทางเพศ
เน้นมาฝากครรภ์
ป้องกันการติดเชื้อ
แนะนำการได้รับยา
แนะนำการนับลููกดิ้น
ระยะรอคลอด
ดูแลผู้คลอดอย่างใกล้ชิด
นอนศีรษะสูง
สังเกตอาการเริ่มต้นของหัวใจวาย
Vital signs
Antibiotic (benzatine penicillin, ampicillin)
ยาเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของหัวใจ (Digoxine)
การจัดเตรียมออกซิเจนและอุปกรณ์ช่วยเหลือ
ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษาของเเพทย์
ระยะเบ่งคลอด :
นอนท่าศีรษะสูงแยกขาออกในแนวราบ
ช่วยแพทย์ทำหัตถการ
ฟังเสียงหัวใจทารก
เตรียมช่วยเหลือทารก
ระยะคลอดรก
กดหน้าท้องเหนือสะดือ
ดูแลการได้รับยา oxytocin งด methergin
ดูแลการได้รับเลือด
ระยะหลังคลอด
ประเมินสัญญาณชีพ
ดูแลให้พักผ่อน
ดูแลให้ได้รับยา digitalis
ดูแลให้ได้รับยา Antibiotic
ดูแลการให้นมบุตร
แนะน่าการคุมก่าเนิด