Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2เทคโนโลยีแก้ปัญหา - Coggle Diagram
บทที่2เทคโนโลยีแก้ปัญหา
-
2.2การระบุปัญหา
2.2.1 เเนวคิดเบบลีน (Lean Thiking) เป็นเเนวคิดที่เริ่มใช้ในระบบโรงงานอุคสาหกรรมเเละงานธุรกิจ โดยเน้นไปที่การสร้่างคุณค่า การขจัดสูญเปล่า การสูญเสียในระหว่างการดำเนินการ หรือลดปัญหาที่เกิดขึ้นตั้งเเต่เริ่มต้นกระบวนก่รสนสิ้นสุด โดยมีสรุปทั้งหมด 8 ประการ ได้เเก่
2.2.2 การสัมภาษณ์ การระบุปัญหาเกี่ยวกับอาชีพในชุมชนที่สนใจจะต้องมีการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องกับอาชีพนั้น ทำให้เข้าใจประสบการณ์ของผู้ถูกสัมภาษณ์ว่ามีสิ่งที่ทำให้พึงพอใจ หรือมีปัญหาใด 1. ระดมความคิดเกี่ยวกับปัญหา 2. จัดกลุ่มของคำถาม เเละประเด็นของคำถาม 3. จัดลำดับของคำถามก่อนหลัง 4. เรียงคำถาม
-
2.4การบอกแนวคิด
การออกแบบเป็นภาพร่าง 2 มิติหรือ 3 มิติควรระบุขนาดและแสดงสัดส่วนของภาพให้ใกล้เคียงกับชิ้นงานจริงและอธิบายรายละเอียดของการออกแบบทั้งนี้ก็เพื่อสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจตรงกันและสามารถนำไปสร้างเป็นชิ้นงานตามที่ออกแบบไว้ตัวอย่างเช่นการออกแบบบีบอัดขยะในถังขยะ
2.5การทดสอบและประเมินผล
2.5.1 การทดสอบหน่วยย่อยการทดสอบวิธีนี้มุ่งเน้นทดสอบในบางระบบย่อยหรือบางส่วนที่สนใจเพื่อตรวจสอบและแก้ไขตัวอย่างการทดสอบเฉพาะจุดที่เป็นปัญหาเช่นการทดสอบความปลอดภัยจากการชนของรถยนต์การทดสอบความปลอดภัยจากการชนของรถยนต์จะนำหุ่นจำลองที่มีลักษณะเหมือนมนุษย์เข้าไปนั่งในตำแหน่งคนขับและติดเซ็นเซอร์เพื่อวัดแรงกระแทกตามจุดต่าง ๆ เช่นระหน้าอกท้องแล้วนำรถไปทดสอบการชนด้วยความเร็วและสภาพที่เหมือนกับการเกิดอุบัติเหตุจริงจากนั้นจะนำผลการทดสอบมาประเมินระบบความปลอดภัยต่าง ๆ เช่นถุงลมนิรภัยเข็มขัดนิรภัยระยะเบรกกันชนว่าสามารถรักษาความปลอดภัยของผู้ขับขี่และผู้โดยสารได้มากน้อยเพียงใดหรือพัฒนาส่วนนั้นให้ดีขึ้น
2.5.2 การทดสอบทั้งระบบการทดสอบลักษณะนี้มักใช้กับงานที่มีหลายระบบหรือหลายองค์ประกอบทำงานร่วมกันเพื่อตรวจสอบว่าระบบย่อยต่าง ๆ นั้นทำงานสัมพันธ์กันหรือไม่การทดสอบทั้งระบบนั้นต้องการความแม่นยำสูงจึงต้องมีการประเมินผลการทดสอบอย่างละเอียดเพื่อให้มั่นใจว่าทั้งระบบสามารถทำงานร่วมกันได้อย่างสมบูรณ์ก่อนนำไปใช้งานจริงตัวอย่างการทดสอบทั้งระบบเช่นระบบรถไฟฟ้าการทดสอบระบบรถไฟฟ้าก่อนเริ่มเปิดการใช้งานจริงจะทดสอบทั้งระบบร่วมกันเช่นระบบอาณัติสัญญาณ (ทดสอบเส้นทางการเดินรถการสลับร่างระบบสื่อสารระบบจ่ายกระแสไฟฟ้า (ทดสอบการหยุดและขับเคลื่อนตัวของรถระบบจัดเก็บค่าโดยสารอัตโนมัติ (ทดสอบการจัดเก็บตามระยะทางใช้จริง
2.5.3 การทดสอบกับผู้ใช้จริงในการแก้ปัญหาได้จริงจะเริ่มต้นทดสอบอย่างไรกำหนดประเด็นที่ต้องการทดสอบออกมาทีละประเด็นโดยประเด็นนั้นต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์ของการพัฒนชิ้นงานหรือวิธีการและครอบคลุมปัญหาที่ต้องการจะแก้ไขออกแบบเครื่องมือที่จะใช้ในการบันทึกผลการทดสอบเช่นแบบตรวจสอบรายการ (checklist) แบบสัมภาษณ์ผู้ใช้งานจริงแบบบันทึกข้อมูลเริ่มการทดสอบทีละประเด็นโดยในระหว่างการทดสอบให้สังเกตและบันทึกปัญหาหรือจุดบกพร่องที่พบเพื่อนำใช้เป็นข้อมูลประกอบการปรับปรุงแก้ไขนำข้อมูลที่ได้จากการทดสอบมาวิเคราะห์และประเมินผลที่ละประเด็นว่าสามารถแก้ปัญหาได้หรือไม่-หาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขในประเด็นที่ยังไม่สามารถแก้ปัญหาได้ทำการทดสอบซ้ำอีกครั้งนำข้อมูลจากการทดสอบมาประเมินการทำงานและปรับปรุงแก้ไขจนกว่าจะสามารถทำงานได้ตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้
2.6การเขียนรายงาน
เมื่อดำเนินการทดสอบประเมินผลและปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้วจะต้องมีการเขียนรายงานเพื่อแสดทํางานตั้งแต่ต้นจนจบและเพื่อเผยแพร่ผลงานให้ผู้อื่นซึ่งอาจทําให้เกิดการต่อยอดของผลงานการเขียนรายงานข้อนําเสนอรายละเอียดหรือข้อมูลของสิ่งที่ต้องการนำเสนอได้มากผู้อ่านสามารถเลือกอ่านข้อมูลส่วนที่ต้องการได้การโดยทั่วไปจะมีองค์ประกอบหลักอยู่ 3 ส่วนคือส่วนน้ำส่วนเนื้อเรื่องและส่วนอ้างอิงโดยรายงานในวิชาการออกเทคโนโลยีมีรายละเอียดในแต่ละส่วนดังนี้
- ส่วนน่า ปกนอกและปกในประกอบด้วยชื่อรายงานชื่อผู้จัดทำชื่อโรงเรียนระดับชั้น (ที่กำลังศึกษา) ชื่อครูปีการศึกษาที่ดำเนินการ•บทคัดย่อสารบัญสารบัญตารางสารบัญรูปภาพ
2.ส่วนเนื้อเรื่องประกอบด้วย 5 ส่วนดังนี้ e ·. ระบุปัญหาอธิบายที่มาหรือความสำคัญของปัญหาวัตถุประสงค์ขอบเขตของการดำเนินงานประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับโดยนำเสนอข้อมูลของการวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาที่ต้องการแก้ไขรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหาอธิบายความรู้หรือหลักการที่เกี่ยวข้องเช่นความรู้ทางวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ หรือแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหรือวิธีการแก้ปัญหาที่นักเรียนได้รวบรวมและระดมความคิดภายในกลุ่มออกแบบวิธีการแก้ปัญหาวางแผนและดำเนินการสร้างแบบจำลองหรือชิ้นงานวิเคราะห์ข้อดีและข้อ จำกัด ของแต่ละแนวทางสรุปแนวทางการแก้ปัญหาของกลุ่มพร้อมอธิบายเหตุผลแสดงรายละเอียดของแบบร่างหรือวิธีการแก้ปัญหาหรือแบบจำลองเพื่อทดสอบแนวคิดของการแก้ปัญหา•ทดสอบประเมินผลและปรับปรุงแก้ไขอธิบายวิธีการทดสอบและประเมินผลจากแบบจำลองชิ้นงานหรือวิธีการผลการทดสอบและการปรับปรุงแก้ไข e สรุปและข้อเสนอแนะอภิปรายผลการทดสอบข้อสรุปและผลการแก้ปัญหาตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้รวมทั้งจุดเด่นหรือความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นประโยชน์และแนวทางการนำไปประยุกต์ใช้ตลอดจนข้อเสนอแนะเพื่อนำไปพัฒนาต่อยอดหรือนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
- ส่วนอ้างอิง•บรรณานุกรมใช้การอ้างอิงรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งเช่น American Psychological Association (APA) ภาคผนวกส่วนที่แสดงเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเช่นแบบสอบถามแบบประเมินจากผู้เชี่ยวชาญข้อมูลผลการทดสอบจากเครื่องมือต่าง ๆ ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ๆ บทที่ 2 | เทคโนโลยีก้ปัญหา-กิจกรรมที่ 2.7 เรื่องจัดทำรายงานแต่ละกลุ่มจัดทำรายงานการดำเนินงานกิจกรรมที่ 21- 2.6) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2.7การนําเสนอ
เทคโนโลยีการอาจพูดปากเปล่าหรือพูดโดยใช้สื่อประกอบการนำเสนอเช่นโปสเตอร์ฟลิปชาร์ทโปรแกรมในงานการป้ายสิบทหารการนำเสนองานนอกจากจะใช้วิธีการเขียนรายงานแล้วยังสามารถทำได้ในหลายรูปแบบเช่นการนำเสนอควาจัดนิทรรศการการจําแนผ่านสื่อออนไลน์
2.7.1 การนำเสนอด้วยวาจาการนำเสนอด้วยวาจาเป็นการนำเสนอที่เป็นพื้นฐานเราจึงควรศึกษาหลักการของการนำเสนอด้วยวาจาเพื่อให้ผู้ที่เข้าใจสิ่งที่เราต้องการจะสื่อสารการนำเสนอด้วยวาจาโดยทั่วไปควรคำนึงถึงองค์ประกอบหลัก 3 ส่วนคือผู้นำเสนอเนื้อหาและผู้จัด
- ผู้นำเสนอผู้นำเสนอควรมีการเตรียมความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจโดยการวางแผนก่อนนำเสนอศึกษาข้อมูลที่จะนำเสนอให้พร้อมกำหนดรูปแบบการนำเสนอและอุปกรณ์ให้สอดคล้องกับเนื้อหาฝึกบริหารเวลาและฝึกซ้อมก่อนการนำเสนอพูดเสียงดัชัดถ้อยชัดคำตรงประเด็นใช้ภาษากายช่วยในการสื่อสาร ได้แก่ ดวงตาท่าทางและการเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสม
- เนื้อหาผู้นำเสนอควรเตรียมเนื้อหาที่จะนำเสนอให้ชัดเจนเป็นลำดับตามโครงเรื่องที่วางแผนไว้สามารถแสดงที่มาความสำคัญของปัญหาหรือจุดประสงค์ของการพัฒนาผลงานได้ชัดเจนแสดงหรืออธิบายการทำงานของผลงานหรือแนวทางกแก้ปัญหาได้ตรงตามจุดประสงค์มีการยกตัวอย่างหรือเปรียบเทียบข้อมูลที่น่าเชื่อถือผู้นำเสนอควรเตรียมรูปแบบของเนื้อที่หลากหลายและเหมาะสมเช่นภาพวิดีโอตารางกราฟเพื่อให้สามารถตรึงความสนใจของผู้ฟังได้ตลอดเวลา
- ผู้ฟังหรือกลุ่มเป้าหมายผู้นำเสนอควรพิจารณาว่าผู้ฟังคือใครเพื่อให้สามารถเตรียมเนื้อหาตลอดจนใช้ภาษาให้เหมาะสมกับผู้ฟังแลตรงวัตถุประสงค์ของการนำเสนอเช่นผู้ฟังเป็นเด็กก็ต้องใช้คำง่าย ๆ ไม่มีศัพท์เทคนิคมากมีรูปประกอบที่หลากหลายมีหากผู้ฟังเป็นเพื่อนร่วมชั้นเรียนอาจใช้เรื่องราวที่มีประสบการณ์ร่วมกันมาดึงดูดความสนใจหากผู้ฟังเป็นผู้ทรงคุณวุฒิผู้นำเสนก็จะต้องมีความเข้าใจเนื้อหานั้นโดยแสดงความมั่นใจผ่านบุคลิกภาพที่ดีน่าเชื่อถือและตอบคำถามด้วยเหตุผลและข้อมูลอ้างโดยไม่คาดเดา
2.7.2 การนาเสนอด้วยโปสเตอร์สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทัเกรียน แต่ในงานประกเพื่อให้เกิดความสงสผลงานด้วยไทยพาไปช้อมูลการนำเสนอด้วยโปสเตอร์เป็นวิธีหนึ่งที่ได้รับความนิยมในการจัดประชุมวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศการนำเสนอในลักษณะนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้อ่านทราบข้อมูลเบื้องต้นหรือข้อมูลโดยสรุปที่ผู้นำเสนอต่อาการจะสื่อสารโดยอาจมีผู้นำเสนออธิบายเพิ่มเติมหรือไม่มีก็ได้การนำเสนอลักษณะนี้จึงต้องคัดเลือกข้อมูลที่จำเป็นและสาปให้ได้สาระสำคัญเนื่องจากพื้นที่นำเสนอมี จำกัด จุดประสงค์อท้าวกิจอาจมีหัวหน้าแส 02 D 6.