Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 เทคโนโลยีการแก้ปัญหา - Coggle Diagram
บทที่2 เทคโนโลยีการแก้ปัญหา
2.1การนำเทคโนโลยีมาแก้ปัญหาในอาชีพ
2.1.2 การขนส่ง
การพัฒนาเทคโนโลยีที่นำมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในธุรกิจการขนส่งให้ดีขึ้นเรียกว่า GPS trackingหรือการระบุตำแหน่งของวัตถุผ่านระบบระบุตำแหน่งบนพื้นโลกGlobal Positioning System
GPS tracking ช่วยแก้ปัญหาทราบต าแหน่งปัจจุบันและความเร็วรถยนต์ได้ทันทีช่วยควบคุมพฤติกรรมการขับรถที่ผิดวัตถุประสงค์ของพนักงานเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดส่งสินค้าถึงมือผู้รับเพิ่มความมั่นใจให้แก่ลูกค้าที่ใช้บริการ
2.1.3การผลิตไฟฟ้า
เซลล์แสงอาทิตย์ หรือ โซลาร์เซลล์ (solar cell)1.แผงเซลล์แสงอาทิตย์2.อินเวอร์เตอร์ เปลี่ยนกระแสไฟฟ้า3.มิเตอร์/แบตเตอรี่4.แผงไฟฟ้ า
เกิดจากการเปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานไฟฟ้า เกิดจากการเปลี่ยนแสงสว่างให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell)หรือ โฟโตเซลล์(Photo Cell) เกิดจากปฏิกิริยาเคมี เช่น แบตเตอรี่ ถ่านไฟฉาย เซลล์แห้งและเซลล์เชื้อเพลิง เป็นต้น
2.1.1บริการส่งอาหาร(food delivery)
แอพสั่งอาหารแบบเดลิเวอรี่ กลายเป็นสั่งจำเป็นที่ใครหลายคนต้องมีไว้ติดเครื่อง ไม่ว่าจะสั่งจากที่บ้าน ที่ทำงาน หรือเวลาไปในพื้นที่ไหนที่เราไม่ถนัดในการเดินทาง
แอพพลิเคชันสั่งอาหารเดลิเวอรี่เป็นสิ่งที่ตอบโจทย์ผู้ใช้อย่างเรา ๆ เป็นอย่างมาก และยิ่งในสถานการณ์ของโรคระบาดอย่าง COVID-19 ที่ยังคงมีการระบาดอยู่อย่างต่อเนื่อง ทำให้เราต้องระมัดระวังตัว และหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้อื่นโดยตรง ทีมงาน Notebookspec เลยนำ 15 แอพสั่งอาหาร ที่ควรมีติดเครื่อง ตัวเลือกเยอะ สะดวกสุด ๆ รับรองส่งตรงถึงบ้าน อยู่ที่ไหนก็ไม่อดอย่างแน่นอน
2.2การระบุปัญหา
2.2.1แนวคิดแบบลื่น(Lean Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ของทีมงานที่ไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์ (Non-utilized Talent) ทำให้องค์กรไม่ขยับปรับตัวไปไหน เพราะไม่ฟังเสียงของทีมงานของเราที่จะสร้างสรรค์องค์กรให้พัฒนาก้าวไปข้างหน้า
การขนย้ายบ่อยๆ (Transportation) จากการผลิตเกินมักจะเป็นผลให้เกิดการเก็บสินค้ามาเกินไป แล้วต้องเสียเวลาในการขนย้าย ค้นหาสินค้าเกิดขึ้น
การรอคอย (Waiting) โดยเฉพาะธุรกิจบริการจะเห็นได้ชัดเจน การรอคอยทำให้เกิดต้นทุนแฝงต่างๆ ตามมา
สินค้าคงคลังมากเกินไป (Inventory) เป็นอีกหนึ่งความสูญเปล่าที่เหนี่ยวรั้งองค์กรไม่ให้ก้าวไปข้างหน้า เหมือนมีไขมันมาพอกไว้ วิ่งไม่ไปไหน เคลื่อนตัว เปลี่ยนแปลงยากลำบาก
การผลิตสินค้ามากเกินความต้องการ (Overproduction) เช่น ลูกค้าสั่งมา 100 ชิ้น ผลิตมา 120 ชิ้น 20 ชิ้นที่เกินมาก็ต้องกลายเป็นคลังสินค้าของเรา เสียเวลาขนย้ายไปๆ มาๆ อีกต่างหาก
การเคลื่อนไหวที่ไม่จำเป็น (Motion) การเดิน เอื้อม หัน ซ้าย-ขวา หน้า-หลัง เสียเวลาในการทำงานทั้งนั้น ต้องหาวิธีการทำงานที่สะดวก รวดเร็ว ที่จะเคลื่อนไหวให้น้อยที่สุด
งานที่ต้องแก้ไข (Defect) ผลิตสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ ทำให้ต้องมาเสียเวลาในการแก้ไข เสียทรัพยากรทั้งวัสดุ แรงงาน ตามมา
ขั้นตอนซ้ำซ้อนไม่ถูกต้อง (Excess Processing) ขั้นตอนต่างๆ ไม่เคยมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง มาตรฐานทำมาอย่างไรก็เก็บไว้แบบนั้นไม่มีการศึกษาพัฒนาขั้นตอนการทำงานอย่างจริงจัง หรือไม่ได้ค้นหาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้ทำงานได้ง่ายยิ่ง
2.2.2การสัมภาษณ์
มีไหวพริบที่จะแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ และรู้จักหลักจิตวิทยา
2.มีมนุษยสัมพันธ์ ปรับตัวให้เข้ากับทุกคนได้ในระยะเวลาอันสั้น
ต้องเป็นคนมีบุคลิกดี แต่งกายสุภาพเรียบร้อยเหมาะกับกาลเทศะ
1.จะต้องเตรียมตัวให้พร้อม และเข้าใจจุดประสงค์ว่าต้องการทราบข้อมูลอะไรจากผู้ให้สัมภาษณ์
2.3การรวบรวมข้อมูลและการคัดเลือกแนวคิด
ต่อยอดแนวคิดผู้อื่น หากเห็นว่าแนวคิดนั้นดี
สนับสนุนแนวคิดแปลกใหม่
รับฟังแนวคิด ไม่ตัดสินแนวคิดนั้นดีหรือไม่ดี ไม่สรุปโดยทันที
ไม่ออกนอกเรื่อง ให้ยึดหัวข้อหรือประเด็นที่ตั้งไว้เป็นหลัก
2.4การออกแบบแนวคิด
การออกแบบเป็นภาพร่าง สามารถทำได้ทั้งแบบ 2มิติ คือมีด้านกว้างและด้านยาว
การออกแบบเป็นภาพร่างสองมิติหรือ2มิติหรือ3มิติ ควรระบุขนาดและสัดส่วนของภาพให้ใกล้เคียงกับชิ้นงานจริง และอธิบายรายละเอียดของการออกแบบ
2.5การทดสอบและประเมินผล
2.5.2การทดสอบทั้งระบบ เป็นการทดสอบที่มักใช้กับงานที่มีหลายระบบ หรือหลายองค์ประกอบทำงานร่วมกัน
2.5.1การทดสอบหย่วยย่อย เป็นการทดสอบที่มุ่งเน้นในระบบย่อยหรือบางส่วนที่สนใจเพื่อตรวจสอบและแก้ไขหรือพัฒนาส่วนนั้นให้ดีขึ้น
2.5.3การทดสอบกับผู้ใช้จริง เป็นกระบวนการทดสอบ เพื่อให้มั่นใจว่าสิ่งที่พัฒนาขึ้น นั้น สามารถตอบสนองหรือ แก้ปัญหาของผู้ใช้งานจริงได้ เช่นเครื่องสาอาง เป็นต้น
2.6การเขียนรายงาน
ขั้นตอนในการเขียนรายงานเชิงวิชาการ
1.กำหนดเรื่อง
1.1เป็นเรื่องที่น่าสนใจ
1.2เป็นเรื่องที่มีขอบเขตและเนื้อหาไม่กว้างจนเกินไปสามรถทำได้ในระยะเวลาที่กำหนดได้
การสร้างจุดในการเข้าถึงสิ่งพิมพ์ที่ต้องการ โดยพิจารณาจาก ส่วนประเด็นสำคัญของเนื้อเรื่องหรือสรุปแนวความคิดสำคัญของเนื้อเรื่อง แล้วกำหนดคำหรือวลี ขึ้น เพื่อแสดงลักษณะเนื้อหาที่แท้จริงของสิ่งพิมพ์นั้น สิ่งพิมพ์แต่ละประเภทมีรูปแบบของหัวเรื่อง
1.3 เป็นเรื่องที่หาข้อมูจากหนังสือ วารสารสิ่งพิมพ์ มาประกอบเขียนได้
2.7การนำเสนอ
2.7.1 การนำเสนอข้อมูล (Informative Presentation)
การสอนและแนะนำ (Instructive Presentation)